Category Archive: E-book

Mar 10

คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๘ แปลโดยอรรถ”

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓  “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๘ แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้ แปลมาจากอรรถกถาธรรมบท ภาษาบาลี  ภาค ๘ ซึ่งเป็นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ นักปราชญ์ชาวอินเดีย ผู้มีชื่อเสียงกึกก้อง เดินทางไปสิงหล (เกาะลังกา)  เพื่อแปลพระไตรปิฎกและอรรถกถาจากภาษาสิงหลเป็นภาษาบาลี  เมื่อ  พ.ศ.๙๕๖  เป็นสำนวนการแปลอรรถกถา ซึ่งเป็นหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้นประโยค ป.ธ.๓  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศึกษาเนื้อหาหรือเรื่องราว จำนวน ๓วรรค คือตัณหาวรรค  หมวดว่าด้วยตัณหา ภิกขุวรรค หมวดว่าด้วยภิกษุ  มุ่งเน้นเกี่ยวกับภิกษุ พราหมณวรรค หมวดว่าด้วยพราหมณ์ คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓  “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๘  แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้ แปลโดยคณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยกล่าวถึงเนื้อหาหรือเรื่องราวตัณหาวรรคหมวดว่าด้วยตัณหามี๑๒ เรื่อง ๒๖ คาถาในวรรคนี้ มุ่งเน้นถึงตัณหาคำว่าตัณหาหมายถึงความทะยานอยากในอารมณ์ทั้งหลายมี๓ประการคือ (๑) กาม ตัณหา (๒) ภวตัณหา (๓) วิภวตัณหา …

Continue reading »

Mar 10

คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๗ แปลโดยอรรถ”

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๗ แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้ แปลมาจากอรรถกถาธรรมบท ภาษาบาลี  ภาค ๗ ซึ่งเป็นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ นักปราชญ์ชาวอินเดีย ผู้มีชื่อเสียงกึกก้อง เดินทางไปสิงหล (เกาะลังกา)  เพื่อแปลพระไตรปิฎกและอรรถกถาจากภาษาสิงหลเป็นภาษาบาลี  เมื่อ  พ.ศ.๙๕๖  เป็นสำนวนการแปลอรรถกถา ซึ่งเป็นหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทย  ชั้นประโยค ป.ธ.๓  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศึกษาเนื้อหาหรือเรื่องราว จำนวน ๖วรรค คือ มลวรรค       หมวดว่าด้วยมลทิน  ธัมมัฏฐวรรค หมวดว่าด้วยผู้ตั้งอยู่ในธรรม  มัคควรรค หมวดว่าด้วยมรรค  ปกิณณกวรรค หมวดว่าด้วยเบ็ดเตล็ด  นิรยวรรค หมวดว่าด้วยนรก นาควรรค  หมวดว่าด้วยช้าง คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓  “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๗  แปลโดยอรรถ” เล่มนี้ แปลโดยคณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยกล่าวถึงเนื้อหาหรือเรื่องราว จำนวน ๖  วรรค เช่น มลวรรคหมวดว่าด้วยมลทินมีจำนวน …

Continue reading »

Mar 10

คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๖ แปลโดยอรรถ”

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๖  แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้ แปลมาจากอรรถกถาธรรมบท ภาษาบาลี  ภาค ๖ ซึ่งเป็นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ นักปราชญ์ชาวอินเดีย ผู้มีชื่อเสียงกึกก้อง เดินทางไปสิงหล (เกาะลังกา)  เพื่อแปลพระไตรปิฎกและอรรถกถาจากภาษาสิงหลเป็นภาษาบาลี  เมื่อ  พ.ศ.๙๕๖  เป็นสำนวนการแปลอรรถกถา ซึ่งเป็นหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทย  ชั้นประโยค ป.ธ.๓  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศึกษาเนื้อหาหรือเรื่องราว จำนวน ๖วรรคคือ อัตตวรรค หมวดว่าด้วยตน โลกวรรคหมวดว่าด้วยโลก พุทธวรรคหมวดว่าด้วยพระพุทธเจ้า สุขวรรค หมวดว่าด้วยความสุขปิยวรรคหมวดว่าด้วยสิ่งอันเป็นที่รัก โกธวรรค หมวดว่าด้วยความโกรธ คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓  “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๖  แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้ แปลโดยคณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  กล่าวถึงเนื้อหาหรือเรื่องราว ๖ วรรค เช่น อัตตวรรค หมวดว่าด้วยตน มีจำนวน ๑๐ เรื่อง ๑๐ …

Continue reading »

Mar 10

คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๕ แปลโดยอรรถ”

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๕  แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้ แปลมาจากอรรถกถาธรรมบท ภาษาบาลี  ภาค ๕ ซึ่งเป็นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ นักปราชญ์ชาวอินเดีย ผู้มีชื่อเสียงกึกก้อง เดินทางไปสิงหล (เกาะลังกา)  เพื่อแปลพระไตรปิฎกและอรรถกถาจากภาษาสิงหลเป็นภาษาบาลี  เมื่อ  พ.ศ.๙๕๖  เป็นสำนวนการแปลอรรถกถา ซึ่งเป็นหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทย  ชั้นประโยค ป.ธ.๓ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศึกษาเนื้อหาหรือเรื่องราว จำนวน ๓ วรรค คือปาปวรรค  หมวดว่าด้วยบาป  ทัณฑวรรค หมวดว่าด้วยอาชญา  มุ่งเน้นเกี่ยวกับการลงทัณฑ์ ชราวรรค หมวดว่าด้วยชรา มุ่งเน้นเกี่ยวกับความชรา คือความแก่  ความทรุดโทรม คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓  “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๕  แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้ แปลโดยคณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กล่าวถึงเนื้อหาหรือเรื่องราวปาปวรรค  หมวดว่าด้วยบาป  มีจำนวน ๑๒ เรื่อง ๑๖ คาถา  …

Continue reading »

Mar 10

คู่มือ ประโยค ๑-๒ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๔ แปลโดยอรรถ”

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คู่มือ ประโยค ๑-๒ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๔  แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้ แปลมาจากอรรถกถาธรรมบท ภาษาบาลี  ภาค ๔ ซึ่งเป็นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ นักปราชญ์ชาวอินเดีย ผู้มีชื่อเสียงกึกก้อง เดินทางไปสิงหล (เกาะลังกา)  เพื่อแปลพระไตรปิฎกและอรรถกถาจากภาษาสิงหลเป็นภาษาบาลี  เมื่อ  พ.ศ.๙๕๖  เป็นสำนวนการแปลอรรถกถา ซึ่งเป็นหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทย  ชั้นประโยค ๑-๒  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศึกษาเนื้อหาหรือเรื่องราว จำนวน ๓  วรรค คือ (๑) ปัณฑิตวรรค หมวดว่าด้วยบัณฑิต  (๒) อรหันตวรรค หมวดว่าด้วยพระอรหันต์ (๓) สหัสสวรรค หมวดว่าด้วยหนึ่งในร้อยในพัน คู่มือ ประโยค ๑-๒ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๔  แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้  แปลโดยคณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กล่าวถึงเนื้อหาหรือเรื่องราว จำนวน ๓ วรรค คือ ปัณฑิตวรรค หมวดว่าด้วยบัณฑิต  …

Continue reading »

Mar 10

คู่มือ ประโยค ๑-๒ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๓ แปลโดยอรรถ”

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คู่มือ ประโยค ๑-๒ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๓  แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้ แปลมาจากอรรถกถาธรรมบท ภาษาบาลี  ภาค ๓ ซึ่งเป็นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ นักปราชญ์ชาวอินเดีย ผู้มีชื่อเสียงกึกก้อง เดินทางไปสิงหล (เกาะลังกา)  เพื่อแปลพระไตรปิฎกและอรรถกถาจากภาษาสิงหลเป็นภาษาบาลี  เมื่อ  พ.ศ.๙๕๖  เป็นสำนวนการแปลอรรถกถา ซึ่งเป็นหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทย  ชั้นประโยค ๑-๒  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศึกษาเนื้อหาหรือเรื่องราว จำนวน ๒  วรรค คือ ปุปผวรรค หมวดว่าด้วยดอกไม้ พาลวรรค หมวดว่าด้วยคนพาล คู่มือ ประโยค ๑-๒ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๓  แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้  แปลโดยคณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กล่าวถึงเนื้อหาหรือเรื่องราวปุปผวรรค หมวดว่าด้วยดอกไม้ มี ๑๒  เรื่อง ๑๖ คาถา ในวรรคนี้จะประมวลเรื่องราวที่มีเนื้อหาการเปรียบเทียบระหว่างดอกไม้กับธรรมบ้าง ระหว่างดอกไม้กับกิเลสบ้าง  ระหว่างอาการที่เก็บดอกไม้กับอาการอื่นๆ บ้าง  เช่น …

Continue reading »

Mar 10

คู่มือ ประโยค ๑-๒ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๒ แปลโดยอรรถ”

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คู่มือ ประโยค ๑-๒ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๒  แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้ แปลมาจากอรรถกถาธรรมบท ภาษาบาลี  ภาค ๒ ซึ่งเป็นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ นักปราชญ์ชาวอินเดีย ผู้มีชื่อเสียงกึกก้อง เดินทางไปสิงหล (เกาะลังกา)  เพื่อแปลพระไตรปิฎกและอรรถกถาจากภาษาสิงหลเป็นภาษาบาลี  เมื่อ  พ.ศ.๙๕๖  เป็นสำนวนการแปลอรรถกถา ซึ่งเป็นหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทย  ชั้นประโยค ๑-๒  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศึกษาเนื้อหาหรือเรื่องราว จำนวน ๒  วรรค คือ อัปปมาทวรรค หมวดว่าด้วยความไม่ประมาท จิตตวรรค หมวดว่าด้วยการฝึกจิต คู่มือ ประโยค ๑-๒ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๒  แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้แปลโดยคณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย กล่าวถึงเนื้อหาหรือเรื่องราวอัปปมาทวรรค หมวดว่าด้วยความไม่ประมาท มี ๙  เรื่อง ๑๒ คาถา ในวรรคนี้จะประมวลกล่าวถึงความไม่ประมาทเป็นทางแห่งความสำเร็จผลที่พึงปรารถนาต่างๆ โดยที่สุดเป็นทางแห่งการบรรลุอมตนิพพาน มารวมไว้ด้วยกัน เช่น เรื่องพระนางสามาวดี ว่าด้วยความไม่ประมาทเป็นเหตุให้บรรลุนิพพานปราศจากกิเลสอย่างสิ้นเชิง

Mar 10

คู่มือ ประโยค ๑-๒ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ แปลโดยอรรถ”

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คู่มือ ประโยค ๑-๒ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑  แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้ แปลมาจากอรรถกถาธรรมบท ภาษาบาลี  ภาค ๑ ซึ่งเป็นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ นักปราชญ์ชาวอินเดีย ผู้มีชื่อเสียงกึกก้อง เดินทางไปสิงหล (เกาะลังกา)  เพื่อแปลพระไตรปิฎกและอรรถกถาจากภาษาสิงหลเป็นภาษาบาลี  เมื่อ  พ.ศ.๙๕๖  เป็นสำนวนการแปลอรรถกถา ซึ่งเป็นหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทย  ชั้นประโยค ๑-๒  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศึกษาเนื้อหาหรือเรื่องราว จำนวน ๑  วรรค คือ ยมกวรรค หมวดว่าด้วยธรรมเป็นคู่กัน  มีจำนวน ๑๔ เรื่อง  ๒๐ คาถา ในวรรคนี้เน้นถึงธรรมที่ตรงกันข้าม ถูกประมวลมาไว้ในหมวดเดียวกัน ธรรมที่ตรงกันข้ามนั้น คือความคิดชั่วกับความคิดดี การจองเวรกับการไม่จองเวร เป็นต้น คู่มือ ประโยค ๑-๒ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑  แปลโดยอรรถ”เล่มนี้ แปลโดยคณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยกล่าวถึงธรรมที่ตรงกันข้าม  ถูกรวบรวมไว้ในหมวดเดียวกัน ธรรมที่ตรงกันข้าม ได้แก่ความคิดไม่ดี กับความคิดดี

Mar 10

คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๘ แปลโดยพยัญชนะ”

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓  “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๘  แปลโดยพยัญชนะ”  เล่มนี้ แปลมาจากอรรถกถาธรรมบท ภาษาบาลี  ภาค ๘ ซึ่งเป็นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ นักปราชญ์ชาวอินเดีย ผู้มีชื่อเสียงกึกก้อง เดินทางไปสิงหล (เกาะลังกา)  เพื่อแปลพระไตรปิฎกและอรรถกถาจากภาษาสิงหลเป็นภาษาบาลี  เมื่อ  พ.ศ.๙๕๖  เป็นสำนวนการแปลอรรถกถา ซึ่งเป็นหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทย  ชั้นประโยค ป.ธ.๓  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศึกษาเนื้อหาหรือเรื่องราว  จำนวน ๓ วรรค คือ ตัณหาวรรค  หมวดว่าด้วยตัณหา มุ่งเน้นให้รู้จักตัณหา (ความทะยายอยาก) ๓ ประการ คือ (๑) กามตัณหา ความทะยานอยากในกาม  (๒) ภวตัณหา ความอยากเป็น (๓)  วิภวตัณหา ความไม่อยากเป็น  ตัณหา ๓ ประการนี้  เกิดขึ้นแก่คนที่ประมาท เหมือนเถาย่านทรายเจริญอยู่ในป่า และเกิดแก่ผู้ที่กำหนัดยินดีด้วยราคะ ผลจากการถูกตัณหาครอบงำ  ผู้ที่ตกอยู่ใต้อำนาจของตัณหา ย่อมเร่ร่อนไปมาเหมือนวานร …

Continue reading »

Mar 10

คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๗ แปลโดยพยัญชนะ”

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓  “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๗  แปลโดยพยัญชนะ”  เล่มนี้ แปลมาจากอรรถกถาธรรมบท ภาษาบาลี  ภาค ๗ ซึ่งเป็นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ นักปราชญ์ชาวอินเดีย ผู้มีชื่อเสียงกึกก้อง เดินทางไปสิงหล (เกาะลังกา)  เพื่อแปลพระไตรปิฎกและอรรถกถาจากภาษาสิงหลเป็นภาษาบาลี  เมื่อ  พ.ศ.๙๕๖  เป็นสำนวนการแปลอรรถกถา ซึ่งเป็นหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทย  ชั้นประโยค ป.ธ.๓  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศึกษาเนื้อหาหรือเรื่องราว  จำนวน ๖ วรรค คือ มลวรรค หมวดว่าด้วยมลทิน  ในวรรคนี้เน้นถึงมลทินต่างๆ เช่น  มลทินของชีวิต : ได้แก่ กิเลสและอกุศลธรรม มลทินของมนต์  : การไม่ท่องบ่น มลทินของบ้านเรือน  : ความไม่ขยัน ธัมมัฏฐวรรค หมวดว่าด้วยผู้ตั้งอยู่ในธรรม  ในวรรคนี้ เน้นถึงคุณธรรมที่ทำให้ชื่อว่าเป็นผู้ตั้งอยู่ในธรรม โดยทรงแสดงไปตามหน้าที่ของแต่ละบุคคลที่ทรงตรัสถึง เช่น คุณธรรมของผู้พิพากษา คือวินิจฉัยคดี และสาเหตุแหงคดี  ทั้งฝ่ายที่เป็นจริง และไม่เป็นจริง …

Continue reading »

Older posts «

» Newer posts