• หน้าหลัก
  • ข้อมูลหน่วยงาน
    • ประวัติสำนักพิมพ์
    • ปรัชญา/วิสัยทัศน์
    • โครงสร้างการบริหาร
    • บุคลากร
      • ผู้บริหาร
  • รายชื่อหนังสือ/สิ่งพิมพ์
    • หนังสือวิชาการ
      • คัมภีร์ทางพุทธศาสนา
      • หนังสือวิชาการ
    • ตำราเรียน
      • ตำราเรียน ชุดที่1
      • ตำราเรียน ชุดที่ 2
    • หนังสือพระปริยัติธรรม
      • นักธรรม
      • บาลี
  • วิธีการสั่งซื้อ
  • บทความ/ตำรา เผยแพร่
    • บทความ
    • สารนิพนธ์
      • ปี 2553
      • ปี 2554
      • ปี 2555
      • ปี 2556
      • ปี 2557
      • ปี 2558
      • ปี 2559
      • ปี 2560
      • ปี 2561
    • คติธรรม
    • ตำราเผยแพร่
    • บทสวดมนต์
    • ความรู้ทั่วไปสำหรับประชาชน
  • ชื้อ E-Book
  • ติดต่อเรา
 

QRCODE

QRCODE

สนใจสั่งซื้อ ตำราเรียน หนังสือนักธรรม หนังสือทางวิชาการ ได้ที่ สำนักพิมพ์ มจร โทร. ๐๓๕ ๒๔๘๐๐๐ ต่อ ๘๗๗๐, ๘๗๗๓ มือถือ ๐๖๓ ๘๙๖๙๖๖๒

ติดตามเรา Facebook

ติดตามเรา Facebook

นักธรรม

กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี
คู่มือ นักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรี วิชา ธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ
คู่มือ นักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรี วิชา พุทธประวัติและศาสนาพิธี
คู่มือ นักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรี วิชา วินัยมุขและเบญจศีล-เบญจธรรม
คู่มือ นักธรรมและธรรมศึกษาชั้นโท วิชา กระทู้ธรรม
ธรรมวิภาค นักธรรมชั้นโท
อนุพุทธประวัติและศาสนพิธี นักธรรมชั้นโท
วินัยมุขและอุโบสถศีล นักธรรมชั้นโท
กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นเอก
วิชาธรรมวิจารณ์ นักธรรมชั้นเอก
คู่มือ นักธรรมและธรรมศึกษาชั้นเอก วิชา พุทธานุพุทธประวัติ
คู่มือ นักธรรมและธรรมศึกษาชั้นเอก วิชา วินัยมุขและกรรมบถ

บาลี

ธรรมบทภาค1 โดยพยัญชนะ
ธรรมบทภาค2 โดยพยัญชนะ
ธรรมบทภาค3 โดยพยัญชนะ
ธรรมบทภาค4 โดยพยัญชนะ
ธรรมบทภาค5 โดยพยัญชนะ
ธรรมบทภาค6 โดยพยัญชนะ
ธรรมบทภาค7 โดยพยัญชนะ
ธรรมบทภาค8 โดยพยัญชนะ
ธรรมบทภาค1 โดยอรรถ
ธรรมบทภาค2 โดยอรรถ
ธรรมบทภาค3 โดยอรรถ
ธรรมบทภาค4 โดยอรรถ
ธรรมบทภาค5 โดยอรรถ
ธรรมบทภาค6 โดยอรรถ
ธรรมบทภาค7 โดยอรรถ
ธรรมบทภาค8 โดยอรรถ

หนังสือวิชาการ

คำบรรยายกฎหมายคณะสงฆ์
พุทธจักรวาลวิทยา
วิเคราะห์อภิปรัชญาในพระพุทธศาสนา
อังกฤษแนวใหม่ครบเครื่อง
พุทธปรัชญา
พระพุทธศาสนากับวิทยาการสมัยใหม่
วิชาศาสนา
จดหมายเปิดผนึกเล่าเรื่องปรัชญาอินเดีย
แนวโน้มบทบาทพระสงฆ์กบการเมืองไทยในสองทศวรรษหน้า
Chanting the Sangiti Sutta
A Buddhist Worldview (โลกทัศน์ชาวพุทธ)
A Glimpse of Thai Philosophy (เหลือบมองปรัชญาไทย)
เจาะหาความจริง เรื่องศาสนาประจำชาติ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอันเนื่องมาจากพระราชดำริกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา
พระไตรปิฎกปริทัศน์
พระพุทธศาสนามหายานในอินเดีย พัฒนาการและสารัตถธรรม
พุทธวิธีบริหาร
พุทธศาสนสุภาษิตไตรพากษ์ (ติวากฺเย พุทฺธสาสนสุภาศิตานิ
พุทธสังคมวิทยา
วิธีบูรณาการพระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่
วิธีบูรณาการพระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่1
วิปัสสนาธรรมกาพย์ ญาณ 16
อานุภาพพระปริตร

ตำราเรียน

ตำราเรียนชุดที่ 1

ประวัติพระพุทธศาสนา ฉบับปรับปรุง
ประวัติพระพุทธศาสนา
การปกครองคณะสงฆ์ไทยปรับปรุง
การปกครองคณะสงฆ์ไทย
ธรรมภาคภาษาอังกฤษ ฉบับปรับปรุง
ธรรมะภาคภาษาอังกฤษ
ธรรมะภาคภาษาอังกฤษ
แต่งแปลบาลี ฉบับปรับปรุง
แต่งแปลบาลี
งานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา
งานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา
พระวินัยปิฎก
พระสุตตันตปิฎก ฉบับปรับปรุง
พระสุตตันตปิฎก
พระอภิธรรมปิฎก ฉบับปรับปรุง
พระอภิธรรมปิฎก
ธรรมะภาคปฏิบัติ 1
ธรรมะภาคปฏิบัติ 2
มนุษย์กับสังคม (ฉบับปรับปรุง)
มนุษย์กับสังคม
ปรัชญาเบื้องต้น
วัฒนธรรมไทย
ภาษากับการสื่อสาร
คณิตศาสตร์เบื้องต้น
วรรณคดีบาลีฉบับปรับปรุง
วรรณคดีบาลี
พระไตรปิฎกศึกษา
เทศกาลและพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา
ศาสนาทั่วไป
ภาษาศาสตร์เบื้องต้นฉบับปรับปรุง
ธรรมะภาคปฏิบัติ 3

ตำราเรียนชุดที่ 2

ธรรมะภาคปฏิบัติ 4
ธรรมนิเทศ
กฎหมายทั่วไป
การเมืองกับการปกครองของไทย
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ภาษาอังกฤษเบื้องต้น
สถิติเบื้องต้นและการวิจัย
ธรรมภาคปฏิบัติ 5
ธรรมะภาคปฏิบัติ 6
ธรรมะภาคปฏิบัติ 7
เทคนิคการศึกษาระดับอุดมศึกษา
เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
พุทธวิธีการสอน
การเขียนบทความทางพระพุทธศาสนา
พุทธปรัชญาการศึกษา
ภาษาอังกฤษเพือการประชาสัมพันธ์
พุทธจริยศาสตร์กับปัญหาสังคมร่วมสมัย

จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็ปไซต์

263655
Users Today : 120
Users Yesterday : 137
This Month : 2736
This Year : 21101
Total Users : 263655
Views Today : 1411
Total views : 954628
Who's Online : 1

แบบสอบถามความพึงพอใจ

ความพึงพอใจที่ท่านได้รับ

« พิธีสวดนพเคราะห์

วัฒนธรรมไทย »

Jul 26

พัฒนาจิตแนวพุทธ

Categories:

E-book, ไม่มีหมวดหมู่

by mcupbs

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก)

  • “พัฒนาจิตแนวพุทธ” เล่มนี้ เป็นผลงานเขียนของ พระครูกัลยาณสิทธิวัฒน์, ผศ. (สมาน กลฺยาณธมฺโม/พรหมอยู่) ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งเป็นคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ซึ่งผลงานต้นฉบับเล่มนี้ ผู้เขียนได้มอบให้สำนักพิมพ์ มจร เมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๖๖ ที่ผ่านมา ทางสำนักพิมพ์ มจร ขอกราบขอบพระคุณ มา ณ โอกาสนี้
    “พัฒนาจิตแนวพุทธ” เล่มนี้ ผู้เขียนได้ปรารภไว้ว่า เล่มนี้เป็นหนังสือเชิงวิชาการที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับธรรมชาติของจิตในลักษณะต่าง ๆ ทางพระพุทธศาสนา ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อเป็นหนังสือประกอบการศึกษาและปฏิบัติธรรมตามหลักวิชาการทางพุทธจิตวิทยา ซึ่งกำลังเป็นที่สนใจอย่างมากทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ เพราะต่างทราบกันดีว่าทั่วโลกพากันแข่งขันพัฒนาด้านวัตถุเทคโนโลยีก้าวหน้าไปไกลมาก มนุษย์มีความเป็นอยู่ด้านกายภาพสะดวกสบายยิ่งขึ้น แต่สภาพจิตใจกลับยิ่งเครียดขึ้นตามลำดับ ซึ่งเป็นการสวนทางกับทางด้านกายภาพ ทั้งนี้ เพราะขาดการดูแลจิต อันเป็นตัวรับสภาพทุกอย่างที่เกิดขึ้นกับมนุษย์
    การพัฒนาจิต พระพุทธศาสนาเรียกว่า จิตภาวนาบ้าง สมาธิภาวนาบ้าง หรือวิปัสสนาภาวนาบ้าง อันเป็นมรดกจากแดนชมพูทวีป คือประเทศอินเดียถือปฏิบัติกันมายาวนาน จนบรรลุมนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติพรหมสมบัติ และนิพพานสมบัติ จำนวนมาก เมื่อเกิดมาพบพระพุทธศาสนาได้รับมรดกอันล้ำค่าสุดวิเศษแล้ว ถ้าไม่ปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ก็นับว่าพลาดโอกาสอย่างน่าเสียดาย แล้วอีกกี่ชาติจึงจะได้พบอีกการศึกษาเรื่องจิตที่เรียกว่า “จิตวิทยา” มีแพร่หลายในกลุ่มประเทศตะวันตก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาความผิดปกติทางจิตอันเกิดจากสาเหตุต่างๆ และศึกษาพฤติกรรมของจิต แต่ “จิตภาวนา” มีการศึกษาแพร่หลายในกลุ่มประเทศตะวันออก ซึ่งส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาโดยใช้หลักกรรมฐานเป็นแนวปฏิบัติ เพื่อพัฒนาจิตให้สะอาด สว่าง สงบไม่ต้องกระเสือกกระสนดิ้นรนทนทุกข์ จนสามารถหลุดพ้นเป็นอิสระจากอำนาจกิเลสได้
    การพัฒนาจิตนั้น เป็นเรื่องสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับมนุษยชาติอย่างน้อยก็โปรดระลึกว่า เราเกิดมาเพื่อยกระดับจิตให้สูงขึ้น ทำให้รู้เท่าทันอารมณ์ รู้เท่าทันกิเลส ทำให้เกิดการหักห้าม ยับยั้ง ระงับอารมณ์มีให้ไหลไปตามกิเลสได้ จึงนับว่ามีคุณประโยชน์อย่างมาก ถ้าไม่พัฒนา จิตก็จะเสื่อมลงตามอำนาจกิเลส สุดแต่กิเลสจะชักนำไป สุดท้ายก็ตกสู่อบายภูมิ การพัฒนาจิตนอกจากได้รับผลดังกล่าวแล้ว ยังเป็นการบำเพ็ญบุญระดับสูงตามหลักบุญกี้ริยาวัตถุ คือ ทาน ศีล ภาวนา อีกด้วย ส่วนด้านเนื้อหาทางพุทธจิตวิทยาที่กล่าวไว้ในพระไตรปิฎกมีจำนวนมาก โดยเฉพาะคัมภีร์พระอภิธรรม ซึ่งกล่าวถึงเรื่องจิตโดยตรง แต่ที่นำมากล่าวในที่นี้เพียงเล็กน้อยพอเป็นพื้นฐานการศึกษาและปฏิบัติ ซึ่งผู้เรียบเรียงพยายามใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย ยกเว้นบางศัพท์บางคำที่เป็นศัพท์เฉพาะต้องคงไว้เพื่อความชัดเจนของเนื้อหา สำหรับภาษาบาลีที่นำมาเขียนไว้ด้วยนั้นวัตถุประสงค์เพื่อเป็นหลักฐานอ้างอิงที่มาของเนื้อหา และเพื่อให้ผู้อ่านได้เรียนรู้การอ่านการเชียนภาษาบาลีไปด้วย
    จึงหวังว่า หนังสือเล่มนี้ จะอำนวยประโยชน์แก่ผู้สนใจใคร่ศึกษาใคร่ปฏิบัติ ใคร่พัฒนาจิต พัฒนาชีวิต ยกระดับจิต ยกระดับชีวิตให้สูงขึ้นตามสมควรแก่การปฏิบัติ ขอบุญกุศล คุณความดีอันเกิดจากหนังสือเล่มนี้ จงสำเร็จประโยชน์แก่บิดามารดา พระอุปัชฌาย์ อาจารย์และผู้มีพระคุณ รวมถึงผู้อ่านทุกท่านด้วย

This post has no tag

Copyright

สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
79 หมู่ 1 ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13170
ติดต่อสอบถามและสั่งซื้อหนังสือ
โทร 035-248-000 ต่อ 8773,8770 โทรสาร 035-248-013
มือถือ 061-397-6166