Category Archive: E-book

Mar 15

สมันตปาสาทิกา ภาค ๓ เล่ม ๒

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คัมภีร์ “สมันตปาสาทิกา” มีทั้งภาษาบาลีและภาษาไทย ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่อธิบายความ พระวินัยปิฎก และพระวินัยปิฎก แบ่งออกเป็น ๕ คัมภีร์ คือ มหาวิภังค์ ภิกขุนีวิภังค์ มหาวรรค จุลวรรค และปริวาร และมีอรรถกถาขยายความชื่อสมันตปาสาทิกา อันเป็นผลงานของพระเถระ ชาวชมพูทวีปชื่อว่า พุทธโฆษาจารย์ รจนาขึ้น เมื่อพระพุทธศาสนาล่วงไปได้ประมาณ ๑,๐๐๐ ปี พระเถระรูปนี้เป็นนักปราชญ์ ที่พุทธศาสนิกชนรู้จักกันมาก ในประเทศที่นับถือศาสนาฝ่ายเถรวาท เพราะท่านได้แปลคัมภีร์อรรถกถาพระไตรปิฎกจากภาษาสิงหลมาเป็นภาษาบาลี จัดว่าเป็นงาน ที่สำคัญ เป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราจนทุกวันนี้ ประเทศไทยได้ใช้คัมภีร์ที่ท่านรจนาไว้ เป็นหลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรม ตั้งแต่ประโยค ๑-๒ ถึงเปรียญธรรม ๙ ประโยค โดยเฉพาะ สมันตปาสาทิกา อรรถกถาอธิบายความพระวินัยปิฎกที่ท่านรจนาขึ้น โดยยึดเค้าโครงอรรถกถาเดิม คือ มหาอรรถกถา มหาปัจจรี และกุรุนที เป็นหลัก “สมันตปาสาทิกา ภาค ๓ เล่ม ๒” นี้ แปลและเรียบเรียง โดย …

Continue reading »

Mar 15

สมันตปาสาทิกา ภาค ๓ เล่ม ๑

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คัมภีร์ “สมันตปาสาทิกา” มีทั้งภาษาบาลีและภาษาไทย ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่อธิบายความ พระวินัยปิฎก และพระวินัยปิฎก แบ่งออกเป็น ๕ คัมภีร์ คือ มหาวิภังค์ ภิกขุนีวิภังค์ มหาวรรค จุลวรรค และปริวาร และมีอรรถกถาขยายความชื่อสมันตปาสาทิกา อันเป็นผลงานของพระเถระ ชาวชมพูทวีป ชื่อว่าพุทธโฆษาจารย์ รจนาขึ้น เมื่อพระพุทธศาสนาล่วงไปได้ประมาณพันปี พระเถระรูปนี้เป็นนักปราชญ์ ที่พุทธศาสนิกชนรู้จักกันมาก ในประเทศที่นับถือศาสนาฝ่ายเถรวาท เพราะท่านได้แปลคัมภีร์อรรถกถาพระไตรปิฎกจากภาษาสิงหลมาเป็นภาษาบาลี จัดว่าเป็นงาน ที่สำคัญ เป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราจนทุกวันนี้ ประเทศไทยได้ใช้คัมภีร์ที่ท่านรจนาไว้ เป็นหลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรม ตั้งแต่ประโยค ๑-๒ ถึงประโยค ป.ธ. ๙ โดยเฉพาะ สมันตปาสาทิกา อรรถกถาอธิบายความพระวินัยปิฎกที่ท่านรจนาขึ้น โดยยึดเค้าโครงอรรถกถาเดิม คือ มหาอรรถกถา มหาปัจจรี และกุรุนที เป็นหลัก “สมันตปาสาทิกา ภาค ๓ เล่ม ๑” นี้ แปลและเรียบเรียงโดย คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นคัมภีร์แปลภาษาไทยที่อธิบายขยายความ …

Continue reading »

Mar 15

สมันตปาสาทิกา ภาค ๒ เล่ม ๒

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คัมภีร์ “สมันตปาสาทิกา” มีทั้งภาษาบาลีและภาษาไทย ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่อธิบายความ พระวินัยปิฎก และพระวินัยปิฎก แบ่งออกเป็น ๕ คัมภีร์ คือ มหาวิภังค์ ภิกขุนีวิภังค์ มหาวรรค จุลวรรค และปริวาร และมีอรรถกถาขยายความชื่อสมันตปาสาทิกา อันเป็นผลงานของพระเถระ ชาวชมพูทวีปชื่อว่า พุทธโฆษาจารย์ รจนาขึ้น เมื่อพระพุทธศาสนาล่วงไปได้ประมาณ ๑,๐๐๐ ปี พระเถระรูปนี้เป็นนักปราชญ์ ที่พุทธศาสนิกชนรู้จักกันมาก ในประเทศที่นับถือศาสนาฝ่ายเถรวาท เพราะท่านได้แปลคัมภีร์อรรถกถาพระไตรปิฎกจากภาษาสิงหลมาเป็นภาษาบาลี จัดว่าเป็นงาน ที่สำคัญ เป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราจนทุกวันนี้ ประเทศไทยได้ใช้คัมภีร์ที่ท่านรจนาไว้ เป็นหลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรม ตั้งแต่ประโยค ๑-๒ ถึงเปรียญธรรม ๙ ประโยค โดยเฉพาะ สมันตปาสาทิกา อรรถกถาอธิบายความพระวินัยปิฎกที่ท่านรจนาขึ้น โดยยึดเค้าโครงอรรถกถาเดิม คือ มหาอรรถกถา มหาปัจจรี และกุรุนที เป็นหลัก “สมันตปาสาทิกา ภาค ๒ เล่ม ๒” นี้ แปลและเรียบเรียง โดย …

Continue reading »

Mar 15

สมันตปาสาทิกา ภาค ๒ เล่ม ๑

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คัมภีร์ “สมันตปาสาทิกา” มีทั้งภาษาบาลีและภาษาไทย ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่อธิบายความ พระวินัยปิฎก และพระวินัยปิฎก แบ่งออกเป็น ๕ คัมภีร์ คือ มหาวิภังค์ ภิกขุนีวิภังค์ มหาวรรค จุลวรรค และปริวาร และมีอรรถกถาขยายความชื่อสมันตปาสาทิกา อันเป็นผลงานของพระเถระ ชาวชมพูทวีปชื่อว่า พุทธโฆษาจารย์ รจนาขึ้น เมื่อพระพุทธศาสนาล่วงไปได้ประมาณ ๑,๐๐๐ ปี พระเถระรูปนี้เป็นนักปราชญ์ ที่พุทธศาสนิกชนรู้จักกันมาก ในประเทศที่นับถือศาสนาฝ่ายเถรวาท เพราะท่านได้แปลคัมภีร์อรรถกถาพระไตรปิฎกจากภาษาสิงหลมาเป็นภาษาบาลี จัดว่าเป็นงาน ที่สำคัญ เป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราจนทุกวันนี้ ประเทศไทยได้ใช้คัมภีร์ที่ท่านรจนาไว้ เป็นหลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรม ตั้งแต่ประโยค ๑-๒ ถึงเปรียญธรรม ๙ ประโยค โดยเฉพาะ สมันตปาสาทิกา อรรถกถาอธิบายความพระวินัยปิฎกที่ท่านรจนาขึ้น โดยยึดเค้าโครงอรรถกถาเดิม คือ มหาอรรถกถา มหาปัจจรี และกุรุนที เป็นหลัก “สมันตปาสาทิกา ภาค ๒ เล่ม ๑” นี้ แปลและเรียบเรียง โดย …

Continue reading »

Mar 15

สมันตปาสาทิกา ภาค ๑ เล่ม ๓

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) “สมันตปาสาทิกา ภาค ๑ เล่ม ๓” นี้ เป็นคัมภีร์ที่อธิบายความพระวินัยปิฎก และพระวินัยปิฎก แบ่งออกเป็น ๕ คัมภีร์ คือ มหาวิภังค์ ภิกขุนีวิภังค์ มหาวรรค จุลวรรค และปริวาร และมีอรรถกถาขยายความชื่อสมันตปาสาทิกา อันเป็นผลงานของพระเถระชาวชมพูทวีป ชื่อว่าพุทธโฆษาจารย์ รจนาขึ้น เมื่อพระพุทธศาสนาล่วงไปได้ประมาณ ๑,๐๐๐ ปี พระเถระรูปนี้เป็นนักปราชญ์ ที่พุทธศาสนิกชนรู้จักกันมาก ในประเทศที่นับถือศาสนาฝ่ายเถรวาท เพราะท่านได้แปลคัมภีร์อรรถกถาพระไตรปิฎกจากภาษาสิงหลมาเป็นภาษาบาลี จัดว่าเป็นงานที่สำคัญ เป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราจนทุกวันนี้ ประเทศไทยได้ใช้คัมภีร์ที่ท่านรจนาไว้ เป็นหลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรม ตั้งแต่ประโยค ๑-๒ ถึงประโยค ป.ธ. ๙ โดยเฉพาะสมันตปาสาทิกา อรรถกถาอธิบายความพระวินัยปิฎกที่ท่านรจนาขึ้น โดยยึดเค้าโครงอรรถกถาเดิม คือ มหาอรรถกถา มหาปัจจรี และกุรุนที เป็นหลัก “สมันตปาสาทิกา ภาค ๑ เล่ม ๓” แปลและเรียบเรียงโดยคณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นคัมภีร์ที่อธิบายขยายความที่เป็นประเด็นสำคัญในคัมภีร์มหาวิภังค์เฉพาะ ปาราชิกกัณฑ์ …

Continue reading »

Mar 15

สมันตปาสาทิกา ภาค ๑ เล่ม ๒

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) “สมันตปาสาทิกา ภาค ๑ เล่ม ๒” นี้ เป็นคัมภีร์ที่อธิบายความพระวินัยปิฎก และพระวินัยปิฎก แบ่งออกเป็น ๕ คัมภีร์ คือ มหาวิภังค์ ภิกขุนีวิภังค์ มหาวรรค จุลวรรค และปริวาร และมีอรรถกถาขยายความชื่อสมันตปาสาทิกา อันเป็นผลงานของพระเถระชาวชมพูทวีป ชื่อว่าพุทธโฆษาจารย์ รจนาขึ้น เมื่อพระพุทธศาสนาล่วงไปได้ประมาณ ๑,๐๐๐ ปี พระเถระรูปนี้เป็นนักปราชญ์ ที่พุทธศาสนิกชนรู้จักกันมาก ในประเทศที่นับถือศาสนาฝ่ายเถรวาท เพราะท่านได้แปลคัมภีร์อรรถกถาพระไตรปิฎกจากภาษาสิงหลมาเป็นภาษาบาลี จัดว่าเป็นงานที่สำคัญ เป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราจนทุกวันนี้ ประเทศไทยได้ใช้คัมภีร์ที่ท่านรจนาไว้ เป็นหลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรม ตั้งแต่ประโยค ๑-๒ ถึงประโยค ป.ธ. ๙ โดยเฉพาะสมันตปาสาทิกา อรรถกถาอธิบายความพระวินัยปิฎกที่ท่านรจนาขึ้น โดยยึดเค้าโครงอรรถกถาเดิม คือ มหาอรรถกถา มหาปัจจรี และกุรุนที เป็นหลัก “สมันตปาสาทิกา ภาค ๑ เล่ม ๒” แปลและเรียบเรียงโดยคณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นคัมภีร์ที่อธิบายขยายความที่เป็นประเด็นสำคัญในคัมภีร์มหาวิภังค์เฉพาะ ปาราชิกกัณฑ์ …

Continue reading »

Mar 15

สมันตปาสาทิกา ภาค ๑ เล่ม ๑

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) “สมันตปาสาทิกา ภาค ๑ เล่ม ๑” คัมภีร์แปลเป็นภาษาไทยเล่มนี้ อธิบายขยายความ ที่เป็นประเด็นสำคัญในคัมภีร์มหาวิภังค์เฉพาะพาหิรนิทาน เวรัญชกัณฑ์ มีสาระสำคัญดังนี้ ในพาหิรนิทาน ท่านอรรถกถาจารย์อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับการทำสังคายนาครั้งที่ ๑ ถึง ครั้งที่ ๓ แต่ละครั้งแสดงเหตุเกิดขึ้นแตกต่างกัน พร้อมทั้งการกสงฆ์ เวลาที่ทำ สถานที่ที่ทำ และใน เวรัญชกัณฑ์ ท่านอธิบายเรื่องต่างๆ เช่น ฌาน ๔ ญาณ ๓ มีปุพเพนิวาสญาณเป็นต้น เรื่องการอนุโมทนา พระธรรมเทศนา เรื่องอาการที่น่าเลื่อมใส เรื่องการถึงสรณคมน์ เรื่องการประกาศตนเป็นอุบาสก เรื่องความอดอยากของประชาชน ซึ่งเป็นเหตุให้ภิกษุสงฆ์เป็นอยู่ลำบาก เรื่องการบันลือสีหนาทของ พระมหาโมคคัลลานะ เรื่องการทูลขอให้บัญญัติพระวินัย เรื่องพุทธประเพณี สำหรับ “สมันตปาสาทิกา ภาค ๑ เล่ม ๑” คัมภีร์แปลเป็นภาษาไทยเล่มนี้ อธิบายขยายความ ที่เป็นประเด็นสำคัญในคัมภีร์มหาวิภังค์ ที่เกี่ยวกับพาหิรนิทาน และเวรัญชกัณฑ์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า “สมันตปาสาทิกา ภาค …

Continue reading »

Mar 10

วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓ (กันยายน – ธันวาคม ๒๕๖๔)

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) วารสารมหาจุฬาวิชาการ เป็นวารสารวิชาการ ราย ๔ เดือน (ปีละ ๓ ฉบับ) คือ ฉบับที่ ๑ เดือน มกราคม-เมษายน, ฉบับที่ ๒ เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม, ฉบับที่ ๓ เดือนกันยายน-ธันวาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัยด้านพระพุทธศาสนา เพื่อให้บริการทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนาแก่สังคม เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนแนวคิดทางพระพุทธศาสนา เพื่อสนับสนุนให้เกิดวารสารทางวิชาการกลางของมหาวิทยาลัย ในการเผยแพร่บทความวิชาการและบทความวิจัยแก่ผู้บริหาร คณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และนิสิต นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ในมิติทางด้านศาสนาและปรัชญา พระพุทธศาสนาบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ ในขอบข่ายเนื้อหาสาขาวิชาสังคมวิทยา ศิลปศาสตร์และสหวิทยาการด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ เปิดรับบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๓ กันยายน – ธันวาคม ๒๕๖๔ ได้รวบรวมบทความวิชาการของผู้บริหาร คณาจารย์ของมหาวิทยาลัย รวมถึงคณาจารย์ต่างสถาบันได้ส่งบทความทางวิชาการมาร่วมตีพิมพ์ เพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ทำให้มีคณาจารย์ ได้มีโอกาสศึกษาพุทธธรรมและมีการนำไปประยุกต์ บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลักคำสอนทางพระศาสนาอันเป็นการบริการวิชาการแก่สังคม ในฉบับนี้ กองบรรณาธิการและคณะทำงานฝ่ายประสานงานได้รับเกียรติจากผู้เขียนทั้งภายในและภายนอก …

Continue reading »

Mar 10

วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๖๔)

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) วารสารมหาจุฬาวิชาการ เป็นวารสารวิชาการ ราย ๔ เดือน (ปีละ ๓ ฉบับ) คือ ฉบับที่ ๑ เดือน มกราคม-เมษายน, ฉบับที่ ๒ เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม, ฉบับที่ ๓ เดือนกันยายน-ธันวาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัยด้านพระพุทธศาสนา เพื่อให้บริการทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนาแก่สังคม เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนแนวคิดทางพระพุทธศาสนา เพื่อสนับสนุนให้เกิดวารสารทางวิชาการกลางของมหาวิทยาลัย ในการเผยแพร่บทความวิชาการและบทความวิจัยแก่ผู้บริหาร คณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และนิสิต นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ในมิติทางด้านศาสนาและปรัชญา พระพุทธศาสนาบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ ในขอบข่ายเนื้อหาสาขาวิชาสังคมวิทยา ศิลปศาสตร์และสหวิทยาการด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ เปิดรับบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๖๔ ได้รวบรวมบทความวิชาการของผู้บริหาร คณาจารย์ของมหาวิทยาลัย รวมถึงคณาจารย์ นิสิต นักศึกษาต่างสถาบันได้ส่งบทความทางวิชาการมาร่วมตีพิมพ์ เพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ทำให้มีคณาจารย์ ได้มีโอกาสศึกษาพุทธธรรมและการนำไปประยุกต์ บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนาอันเป็นการบริการวิชาการแก่สังคม …

Continue reading »

Mar 10

วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – เมษายน ๒๕๖๔)

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) วารสารมหาจุฬาวิชาการ เป็นวารสารวิชาการ ราย ๔ เดือน (ปีละ ๓ ฉบับ) คือ ฉบับที่ ๑ เดือน มกราคม-เมษายน, ฉบับที่ ๒ เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม, ฉบับที่ ๓ เดือนกันยายน-ธันวาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัยด้านพระพุทธศาสนา เพื่อให้บริการทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนาแก่สังคม เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนแนวคิดทางพระพุทธศาสนา เพื่อสนับสนุนให้เกิดวารสารทางวิชาการกลางของมหาวิทยาลัย ในการเผยแพร่บทความวิชาการและบทความวิจัยแก่ผู้บริหาร คณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และนิสิต นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ในมิติทางด้านศาสนาและปรัชญา พระพุทธศาสนาบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ ในขอบข่ายเนื้อหาสาขาวิชาสังคมวิทยา ศิลปศาสตร์และสหวิทยาการด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ เปิดรับบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ มกราคม – เมษายน ๒๕๖๔ ได้รวบรวมบทความวิชาการของผู้บริหาร คณาจารย์ของมหาวิทยาลัย รวมถึงคณาจารย์ นิสิต นักศึกษาต่างสถาบันได้ส่งบทความทางวิชาการมาร่วมตีพิมพ์ เพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ทำให้มีคณาจารย์ ได้มีโอกาสศึกษาพุทธธรรมและการนำไปประยุกต์ บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลักคำสอนทางพระศาสนาอันเป็นการบริการวิชาการแก่สังคม …

Continue reading »

Older posts «

» Newer posts