ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) “พัฒนาจิตแนวพุทธ” เล่มนี้ เป็นผลงานเขียนของ พระครูกัลยาณสิทธิวัฒน์, ผศ. (สมาน กลฺยาณธมฺโม/พรหมอยู่) ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งเป็นคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ซึ่งผลงานต้นฉบับเล่มนี้ ผู้เขียนได้มอบให้สำนักพิมพ์ มจร เมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๖๖ ที่ผ่านมา ทางสำนักพิมพ์ มจร ขอกราบขอบพระคุณ มา ณ โอกาสนี้“พัฒนาจิตแนวพุทธ” เล่มนี้ ผู้เขียนได้ปรารภไว้ว่า เล่มนี้เป็นหนังสือเชิงวิชาการที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับธรรมชาติของจิตในลักษณะต่าง ๆ ทางพระพุทธศาสนา ด้วยวัตถุประสงค์เพื่อเป็นหนังสือประกอบการศึกษาและปฏิบัติธรรมตามหลักวิชาการทางพุทธจิตวิทยา ซึ่งกำลังเป็นที่สนใจอย่างมากทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ เพราะต่างทราบกันดีว่าทั่วโลกพากันแข่งขันพัฒนาด้านวัตถุเทคโนโลยีก้าวหน้าไปไกลมาก มนุษย์มีความเป็นอยู่ด้านกายภาพสะดวกสบายยิ่งขึ้น แต่สภาพจิตใจกลับยิ่งเครียดขึ้นตามลำดับ ซึ่งเป็นการสวนทางกับทางด้านกายภาพ ทั้งนี้ เพราะขาดการดูแลจิต อันเป็นตัวรับสภาพทุกอย่างที่เกิดขึ้นกับมนุษย์การพัฒนาจิต พระพุทธศาสนาเรียกว่า จิตภาวนาบ้าง สมาธิภาวนาบ้าง หรือวิปัสสนาภาวนาบ้าง อันเป็นมรดกจากแดนชมพูทวีป คือประเทศอินเดียถือปฏิบัติกันมายาวนาน จนบรรลุมนุษย์สมบัติ สวรรค์สมบัติพรหมสมบัติ และนิพพานสมบัติ จำนวนมาก เมื่อเกิดมาพบพระพุทธศาสนาได้รับมรดกอันล้ำค่าสุดวิเศษแล้ว ถ้าไม่ปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ก็นับว่าพลาดโอกาสอย่างน่าเสียดาย แล้วอีกกี่ชาติจึงจะได้พบอีกการศึกษาเรื่องจิตที่เรียกว่า “จิตวิทยา” มีแพร่หลายในกลุ่มประเทศตะวันตก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาความผิดปกติทางจิตอันเกิดจากสาเหตุต่างๆ และศึกษาพฤติกรรมของจิต แต่ “จิตภาวนา” …

QRCODE

สนใจสั่งซื้อ ตำราเรียน หนังสือนักธรรม หนังสือทางวิชาการ ได้ที่ สำนักพิมพ์ มจร โทร. ๐๓๕ ๒๔๘๐๐๐ ต่อ ๘๗๗๐, ๘๗๗๓ มือถือ ๐๖๓ ๘๙๖๙๖๖๒
นักธรรม
กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี
คู่มือ นักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรี วิชา ธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ
คู่มือ นักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรี วิชา พุทธประวัติและศาสนาพิธี
คู่มือ นักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรี วิชา วินัยมุขและเบญจศีล-เบญจธรรม
คู่มือ นักธรรมและธรรมศึกษาชั้นโท วิชา กระทู้ธรรม
ธรรมวิภาค นักธรรมชั้นโท
อนุพุทธประวัติและศาสนพิธี นักธรรมชั้นโท
วินัยมุขและอุโบสถศีล นักธรรมชั้นโท
กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นเอก
วิชาธรรมวิจารณ์ นักธรรมชั้นเอก
คู่มือ นักธรรมและธรรมศึกษาชั้นเอก วิชา พุทธานุพุทธประวัติ
คู่มือ นักธรรมและธรรมศึกษาชั้นเอก วิชา วินัยมุขและกรรมบถ
บาลี
ธรรมบทภาค1 โดยพยัญชนะ
ธรรมบทภาค2 โดยพยัญชนะ
ธรรมบทภาค3 โดยพยัญชนะ
ธรรมบทภาค4 โดยพยัญชนะ
ธรรมบทภาค5 โดยพยัญชนะ
ธรรมบทภาค6 โดยพยัญชนะ
ธรรมบทภาค7 โดยพยัญชนะ
ธรรมบทภาค8 โดยพยัญชนะ
ธรรมบทภาค1 โดยอรรถ
ธรรมบทภาค2 โดยอรรถ
ธรรมบทภาค3 โดยอรรถ
ธรรมบทภาค4 โดยอรรถ
ธรรมบทภาค5 โดยอรรถ
ธรรมบทภาค6 โดยอรรถ
ธรรมบทภาค7 โดยอรรถ
ธรรมบทภาค8 โดยอรรถ
หนังสือวิชาการ
คำบรรยายกฎหมายคณะสงฆ์
พุทธจักรวาลวิทยา
วิเคราะห์อภิปรัชญาในพระพุทธศาสนา
อังกฤษแนวใหม่ครบเครื่อง
พุทธปรัชญา
พระพุทธศาสนากับวิทยาการสมัยใหม่
วิชาศาสนา
จดหมายเปิดผนึกเล่าเรื่องปรัชญาอินเดีย
แนวโน้มบทบาทพระสงฆ์กบการเมืองไทยในสองทศวรรษหน้า
Chanting the Sangiti Sutta
A Buddhist Worldview (โลกทัศน์ชาวพุทธ)
A Glimpse of Thai Philosophy (เหลือบมองปรัชญาไทย)
เจาะหาความจริง เรื่องศาสนาประจำชาติ
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอันเนื่องมาจากพระราชดำริกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา
พระไตรปิฎกปริทัศน์
พระพุทธศาสนามหายานในอินเดีย พัฒนาการและสารัตถธรรม
พุทธวิธีบริหาร
พุทธศาสนสุภาษิตไตรพากษ์ (ติวากฺเย พุทฺธสาสนสุภาศิตานิ
พุทธสังคมวิทยา
วิธีบูรณาการพระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่
วิธีบูรณาการพระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่1
วิปัสสนาธรรมกาพย์ ญาณ 16
อานุภาพพระปริตร
ตำราเรียน
ตำราเรียนชุดที่ 1
ประวัติพระพุทธศาสนา ฉบับปรับปรุง
ประวัติพระพุทธศาสนา
การปกครองคณะสงฆ์ไทยปรับปรุง
การปกครองคณะสงฆ์ไทย
ธรรมภาคภาษาอังกฤษ ฉบับปรับปรุง
ธรรมะภาคภาษาอังกฤษ
ธรรมะภาคภาษาอังกฤษ
แต่งแปลบาลี ฉบับปรับปรุง
แต่งแปลบาลี
งานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา
งานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา
พระวินัยปิฎก
พระสุตตันตปิฎก ฉบับปรับปรุง
พระสุตตันตปิฎก
พระอภิธรรมปิฎก ฉบับปรับปรุง
พระอภิธรรมปิฎก
ธรรมะภาคปฏิบัติ 1
ธรรมะภาคปฏิบัติ 2
มนุษย์กับสังคม (ฉบับปรับปรุง)
มนุษย์กับสังคม
ปรัชญาเบื้องต้น
วัฒนธรรมไทย
ภาษากับการสื่อสาร
คณิตศาสตร์เบื้องต้น
วรรณคดีบาลีฉบับปรับปรุง
วรรณคดีบาลี
พระไตรปิฎกศึกษา
เทศกาลและพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา
ศาสนาทั่วไป
ภาษาศาสตร์เบื้องต้นฉบับปรับปรุง
ธรรมะภาคปฏิบัติ 3
ตำราเรียนชุดที่ 2
ธรรมะภาคปฏิบัติ 4
ธรรมนิเทศ
กฎหมายทั่วไป
การเมืองกับการปกครองของไทย
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ภาษาอังกฤษเบื้องต้น
สถิติเบื้องต้นและการวิจัย
ธรรมภาคปฏิบัติ 5
ธรรมะภาคปฏิบัติ 6
ธรรมะภาคปฏิบัติ 7
เทคนิคการศึกษาระดับอุดมศึกษา
เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
พุทธวิธีการสอน
การเขียนบทความทางพระพุทธศาสนา
พุทธปรัชญาการศึกษา
ภาษาอังกฤษเพือการประชาสัมพันธ์
พุทธจริยศาสตร์กับปัญหาสังคมร่วมสมัย
จำนวนผู้เยี่ยมชมเว็ปไซต์














แบบสอบถามความพึงพอใจ
Category Archive: E-book
Jul 26
พิธีสวดนพเคราะห์
ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) “พิธีสวดนพเคราะห์” เล่มนี้ เป็นผลงานเขียนของ พระครูกัลยาณสิทธิวัฒน์, ผศ. (สมาน กลฺยาณธมฺโม/พรหมอยู่) ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งเป็นคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ซึ่งผลงานต้นฉบับเล่มนี้ ผู้เขียนได้มอบให้สำนักพิมพ์ มจร เมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๖๖ ที่ผ่านมา ทางสำนักพิมพ์ มจร ขอกราบขอบพระคุณ มา ณ โอกาสนี้“พิธีสวดนพเคราะห์” เล่มนี้ ผู้เขียนได้ปรารภไว้ว่า มนต์ คือ คำสำหรับสวดที่มีความขลังความศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งสามารถประสิทธิ์ประสาทพร ความสุขความเจริญรุ่งเรือง ความสำเร็จต่าง ๆ ทั้งเป็นเครื่องกำจัดและป้องกันทุกข์ โศก โรค ภัย ทั้งปวงได้อย่างน่าอัศจรรย์ ศาสนาใหญ่ ๆ ทุกศาสนาในโลก จึงมีบทสวดซึ่งก็คือคำสอนของศาสดานั่นเอง สำหรับให้ศาสนิกของตนได้สวดกัน ในพุทธศาสนาก็มีบทสวดจำนวนมาก มีหลายบทที่พระพุทธองค์ทรงสอนให้ภิกษุท่องจำ แล้วนำไปสวด ซึ่งมีปรากฏในพระไตรปิฎก บางบทนักปราชญ์ประพันธ์ขึ้นภายหลังเพื่อใช้สำหรับสวดในพิธีต่าง ๆการสวดนพเคราะห์ เป็นพิธีกรรมทางศาสนาอย่างหนึ่งที่พุทธศาสนิกชนนิยมจัดและเข้าร่วมพิธี เพราะถือว่าเป็นพิธีศักดิ์สิทธิ์จัดยาก เนื่องจากต้องใช้อุปกรณ์สิ่งของเครื่องประกอบหลายอย่างค่าใช้จ่ายสูง และเจ้าพิธีจะต้องมีความรู้ความชำนาญในการจัดเป็นอย่างดี ซึ่งปัจจุบันนี้ ผู้มีความรู้ตามหลักโบราณประเพณีที่แท้จริงมีน้อย อีกทั้งตำร่าเอกสารสำหรับเป็นแนวทางศึกษาปฏิบัติก็ยิ่งหายากทั้ง ๆ …
This post has no tag
Jul 26
พระพิธีธรรม
ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) “พระพิธีธรรม” เล่มนี้ เป็นผลงานเขียนของ พระครูกัลยาณสิทธิวัฒน์, ผศ. (สมาน กลฺยาณธมฺโม/พรหมอยู่) ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งเป็นคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ซึ่งผลงานต้นฉบับเล่มนี้ ผู้เขียนได้มอบให้สำนักพิมพ์ มจร เมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๖๖ ที่ผ่านมา ทางสำนักพิมพ์ มจร ขอกราบขอบพระคุณ มา ณ โอกาสนี้“พระพิธีธรรม” เล่มนี้ ผู้เขียนได้ปรารภไว้ว่า ได้รับแรงบันดาลใจจากการที่ได้เข้าปฏิบัติหน้าที่สวดพระอภิธรรม ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท ในการบำเพ็ญพระราชกุศลพระราชทานพระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ตั้งแต่วันที่ ๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นต้นมา ซึ่งพระเถรานุเถระ พุทธศาสนิกชน และพสกนิกร ได้ดูข่าวพระราชพิธีทุกวัน จึงทำให้อยากทราบเรื่องเกี่ยวกับพระพิธีธรรม และพระราชประเพณีพิธีที่ทรงปฏิบัติในการบำเพ็ญพระราชกุศล ในครั้งนี้ นอกจากนั้น พระพิธีธรรมทุกวัดที่เข้าปฏิบัติหน้าที่สวดพระอภิธรรมต่างได้รับการซักถามด้วยคำถามที่คล้าย ๆ กัน เช่น ทำไมจึงต้องนิมนต์เฉพาะพระพิธีธรรมมาสวด พัด ๔ เล่ม ๔ สี หมายความว่าอย่างไรและทำไมจึงต้องมีพัดพระราชาคณะตั้งที่ตู้พระธรรมด้วย เป็นต้นเรื่องนี้ แม้ผู้เรียบเรียงจะได้ปฏิบัติหน้าที่พระพิธีธรรมมานานกว่าสามสิบปีแต่ยังไม่พบหลักฐานเอกสารความเป็นมาอย่างชัดเจน …
This post has no tag
Jul 26
คาถาพาหุง พาสุข
ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) “คาถาพาหุง – พาสุข” เล่มนี้ เป็นผลงานเขียนของ พระครูกัลยาณสิทธิวัฒน์, ผศ. (สมาน กลฺยาณธมฺโม/พรหมอยู่) ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งเป็นคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ซึ่งผลงานต้นฉบับเล่มนี้ ผู้เขียนได้มอบให้สำนักพิมพ์ มจร เมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๖๖ ที่ผ่านมา ทางสำนักพิมพ์ มจร ขอกราบขอบพระคุณ มา ณ โอกาสนี้“คาถาพาหุง – พาสุข” เล่มนี้ ผู้เขียนได้ปรารภไว้ว่า พุทธศาสนิกชนนิยมสวดสืบทอดกันนาน เพราะทราบกันดีว่า เป็นบทสวดทรงพลานุภาพมีความหมายในทางป้องกันภัยต่าง ๆ และช่วยเสริมสิริมงคลทั้งแก่ผู้สวดและผู้ฟังเนื่องด้วยแต่ละบทนั้นกล่าวถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับพระพุทธองค์บางเหตุการณ์มุ่งหมายปลงพระชนม์ บางเหตุการณ์มุ่งหมายให้เสื่อมเสียพระเกียรติยศชื่อเสียง แต่พระพุทธองค์ก็ทรงชนะได้ทุกเหตุการณ์ และในตอนท้ายของทุกบท ได้อ้างถึงเดชานุภาพแห่งชัยชนะนั้น แล้วขอชัยมงคลจงมีแก่ข้าพเจ้าหรือแก่ท่าน (ถ้าสวดให้ตนเองเปลี่ยน เต เป็น เม)ในหนังสือสวดมนต์ปัจจุบันนี้ นิยมแปลบทสวดเป็นภาษาไทย เพื่อให้ผู้สวดได้รู้ความหมายของบทสวด แต่ก็รู้เฉพาะบทสวดเท่านั้น ส่วนเรื่องความเป็นมาของแต่ละบทที่เรียกว่าตำนานนั้น มีพิมพ์เผยแพร่น้อย ผู้เรียบเรียงจึงเห็นว่า ถ้านำตำนานหรือเรื่องความเป็นมาของแต่ละบท มาเล่าประกอบในทุก ๆ บทก็จะเกิดประโยชน์แก่ผู้สวด และผู้สนใจเป็นอย่างยิ่ง จึงได้ค้นคว้าจากหนังสือตำราต่างๆ มีพุทธประวัติ …
This post has no tag
Jul 26
ตัณหา ไม่ปรานีใคร
ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) “ตัณหาไม่ปรานีใคร” เล่มนี้ เป็นผลงานเขียนของ พระครูกัลยาณสิทธิวัฒน์, ผศ. (สมาน กลฺยาณธมฺโม/พรหมอยู่) ซึ่งเคยดำรงตำแหน่งเป็นคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ซึ่งผลงานต้นฉบับเล่มนี้ ผู้เขียนได้มอบให้สำนักพิมพ์ มจร เมื่อเดือนมิถุนายน ๒๕๖๖ ที่ผ่านมา ทางสำนักพิมพ์ มจร ขอกราบขอบพระคุณ มา ณ โอกาสนี้ “ตัณหาไม่ปรานีใคร” เล่มนี้ ผู้เขียนได้ปรารภไว้ว่า ตัณหา เป็นคำพูดที่พุทธศาสนิกชนทั้งหลายได้ยินได้ฟังกันจนชินหูและก็รู้ความหมายว่าคือ “ความอยาก” ส่วนมากก็รู้กันในระดับนี้ที่รู้แจ้ง ในรายละเอียดยิ่งไปกว่านี้ ส่วนมากก็จะอยู่ในกลุ่มผู้ศึกษาและปฏิบัติธรรม ได้ฟังเทศน์ฟังธรรมบ่อย ๆ แต่ก็เป็นเพียงแค่รู้เท่านั้น คนที่จะรู้เท่าทันฤทธิ์เดชของตัณหาแล้วพยายามหักห้ามพยายามบรรเทานั้นมีน้อยนัก ทั้ง ๆ ที่ถูกตัณหาครอบงำชักนำให้ทำในสิ่งอันไม่ควรแล้วหลงเกลือกกลั้วมัวเมาอยู่ในความสุขความเพลิดเพลินที่เกิดจากตัณหาอันเปรียบเสมือนยาพิษอาบน้ำผึ้ง ซึ่งไม่ต้องถึงกับตัดตัณหาได้หมดเหมือนพระอรหันต์ ขอแค่เพลาๆ ลงอย่าให้แสดงออกจนเป็นพิษเป็นภัยสร้างความทุกข์ความเดือดร้อนแก่ตนและบุคคลผู้อยู่ร่วมในสังคมส่วนรวมก็น่าอนุโมทนาแล้ว เพราะสังคมโลกมนุษย์ที่วุ่นวายเดือดร้อนล้มตายกันทุกหย่อมหญ้าที่ประสบมาตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันนี้ และก็ยังจะมีต่อไปในอนาคตอีกยาวไกลไม่สิ้นสุด ก็เพราะมนุษย์ผู้ตกอยู่ในอำนาจตัณหาทำให้เกิดขึ้นทั้งสิ้น ผู้เรียบเรียงเห็นว่า การนำพิษภัยของตัณหาพร้อมตัวอย่างบุคคลผู้ตกเป็นทาสตัณหาในอดีตกาลมารวมไว้ให้ผู้อ่านได้ศึกษา ซึ่งอาจจะช่วยให้เกิดความรู้เท่าทันตัณหา และคิดที่จะผ่อนบรรเทาตัณหาของตนให้เบาบางไปได้บ้างอย่างไรก็ตาม ข้อมูลเนื้อหาบางเรื่องบางตอนอาจคลาดเคลื่อนจากหลักวิชาการไปบ้าง อันเกิดจากความรู้น้อยของผู้เรียบเรียง ขอได้โปรดชี้แนะ เพื่อเป็นวิทยาทาน จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า “ตัณหาไม่ปรานีใคร” เล่มนี้ …
This post has no tag
Apr 20
วิสุทธิมรรค ปกรณ์วิเสส ภาค ๒ เล่ม ๒
ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) วิสุทธิมรรค ปกรณ์วิเสส ภาค ๒ เล่ม ๒ นี้ แปลมาจากคัมภีร์วิสุทธิมรรค ภาษาบาลี ที่พระพุทธโฆสาจารย์รจนา ซึ่งมีเนื้อหา ๒๓ ปริจเฉท กล่าวคือ พระวินัยปิฎก มี ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ โดยใจความ ได้แก่ศีล อยู่ใน ๒ ปริจเฉท คือสีลนิเทศ และธุตังคนิเทศ พระสุตตันตปิฎก มี ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ โดยใจความ ได้แก่ สมาธิ อยู่ใน ๑๑ ปริจเฉท ตั้งแต่ปริจเฉทที่ ๓ ถึง ๑๓ ได้แก่ (๓) กัมมัฏฐานคหณนิเทศ (๔) ปฐวีกสิณนิเทศ (๕) เสสกสิณนิเทศ (๖) อสุภกัมมัฏฐานนิเทศ (๗) ฉอนุสสตินิเทศ (๘) อนุสสติกัมมัฏฐานนิเทศ (๙) พรหมวิหารนิเทศ …
This post has no tag
Apr 20
วิสุทธิมรรค ปกรณ์วิเสส ภาค ๒ เล่ม ๑
ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) วิสุทธิมรรค ปกรณ์วิเสส ภาค ๒ เล่ม ๑ นี้ แปลมาจากคัมภีร์วิสุทธิมรรค ปกรณ์วิเสส ซึ่งเป็นคัมภีร์ภาคภาษาบาลี ที่ท่านพระพุทธโฆสาจารย์ได้รจนาไว้ ซึ่งมี ๒๓ นิเทศ กล่าวคือ พระวินัยปิฎก มี ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ โดยใจความ ได้แก่ศีล อยู่ใน ๒ นิเทศ คือ (๑) สีลนิเทศ และ(๒) ธุตังคนิเทศ พระสุตตันตปิฎก มี ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ โดยใจความ ได้แก่ สมาธิ อยู่ใน ๑๑ นิเทศ ตั้งแต่ นิเทศที่ ๓ ถึง ๑๓ ได้แก่ (๓) กัมมัฏฐานคหณนิเทศ (๔) ปฐวีกสิณนิเทศ (๕) เสสกสิณนิเทศ (๖) อสุภกัมมัฏฐานนิเทศ (๗) …
This post has no tag
Apr 20
วิสุทธิมรรค ปกรณ์วิเสส ภาค ๑ เล่ม ๒
ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) วิสุทธิมรรค ปกรณ์วิเสส ภาค ๑ เล่ม ๒ นี้ แปลมาจากคัมภีร์วิสุทธิมรรค ปกรณ์วิเสส ซึ่งเป็นคัมภีร์ภาคภาษาบาลี ที่ท่านพระพุทธโฆสาจารย์ได้รจนาไว้ ซึ่งมี ๒๓ นิเทศ กล่าวคือ พระวินัยปิฎก มี ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ โดยใจความ ได้แก่ศีล อยู่ใน ๒ นิเทศ คือ (๑) สีลนิเทศ และ(๒) ธุตังคนิเทศ พระสุตตันตปิฎก มี ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ โดยใจความ ได้แก่ สมาธิ อยู่ใน ๑๑ นิเทศ ตั้งแต่ นิเทศที่ ๓ ถึง ๑๓ ได้แก่ (๓) กัมมัฏฐานคหณนิเทศ (๔) ปฐวีกสิณนิเทศ (๕) เสสกสิณนิเทศ (๖) อสุภกัมมัฏฐานนิเทศ (๗) …
This post has no tag
Apr 20
วิสุทธิมรรค ปกรณ์วิเสส ภาค ๑ เล่ม ๑
ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คัมภีร์ “สมันตปาสาทิกา” มีทั้งภาษาบาลีและภาษาไทย ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่อธิบายความ พระวินัยปิฎก และพระวินัยปิฎก แบ่งออกเป็น ๕ คัมภีร์ คือ มหาวิภังค์ ภิกขุนีวิภังค์ มหาวรรค จุลวรรค และปริวาร และมีอรรถกถาขยายความชื่อสมันตปาสาทิกา อันเป็นผลงานของพระเถระ ชาวชมพูทวีปชื่อว่า พุทธโฆษาจารย์ รจนาขึ้น เมื่อพระพุทธศาสนาล่วงไปได้ประมาณ ๑,๐๐๐ ปี พระเถระรูปนี้เป็นนักปราชญ์ ที่พุทธศาสนิกชนรู้จักกันมาก ในประเทศที่นับถือศาสนาฝ่ายเถรวาท เพราะท่านได้แปลคัมภีร์อรรถกถาพระไตรปิฎกจากภาษาสิงหลมาเป็นภาษาบาลี จัดว่าเป็นงาน ที่สำคัญ เป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราจนทุกวันนี้ ประเทศไทยได้ใช้คัมภีร์ที่ท่านรจนาไว้ เป็นหลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรม ตั้งแต่ประโยค ๑-๒ ถึงเปรียญธรรม ๙ ประโยค โดยเฉพาะ สมันตปาสาทิกา อรรถกถาอธิบายความพระวินัยปิฎกที่ท่านรจนาขึ้น โดยยึดเค้าโครงอรรถกถาเดิม คือ มหาอรรถกถา มหาปัจจรี และกุรุนที เป็นหลัก “สมันตปาสาทิกา ภาค ๓ เล่ม ๓” นี้ แปลและเรียบเรียง โดย …
This post has no tag
Mar 15
สมันตปาสาทิกา ภาค ๓ เล่ม ๓
ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คัมภีร์ “สมันตปาสาทิกา” มีทั้งภาษาบาลีและภาษาไทย ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่อธิบายความ พระวินัยปิฎก และพระวินัยปิฎก แบ่งออกเป็น ๕ คัมภีร์ คือ มหาวิภังค์ ภิกขุนีวิภังค์ มหาวรรค จุลวรรค และปริวาร และมีอรรถกถาขยายความชื่อสมันตปาสาทิกา อันเป็นผลงานของพระเถระ ชาวชมพูทวีปชื่อว่า พุทธโฆษาจารย์ รจนาขึ้น เมื่อพระพุทธศาสนาล่วงไปได้ประมาณ ๑,๐๐๐ ปี พระเถระรูปนี้เป็นนักปราชญ์ ที่พุทธศาสนิกชนรู้จักกันมาก ในประเทศที่นับถือศาสนาฝ่ายเถรวาท เพราะท่านได้แปลคัมภีร์อรรถกถาพระไตรปิฎกจากภาษาสิงหลมาเป็นภาษาบาลี จัดว่าเป็นงาน ที่สำคัญ เป็นมรดกตกทอดมาถึงพวกเราจนทุกวันนี้ ประเทศไทยได้ใช้คัมภีร์ที่ท่านรจนาไว้ เป็นหลักสูตรการศึกษาพระปริยัติธรรม ตั้งแต่ประโยค ๑-๒ ถึงเปรียญธรรม ๙ ประโยค โดยเฉพาะ สมันตปาสาทิกา อรรถกถาอธิบายความพระวินัยปิฎกที่ท่านรจนาขึ้น โดยยึดเค้าโครงอรรถกถาเดิม คือ มหาอรรถกถา มหาปัจจรี และกุรุนที เป็นหลัก “สมันตปาสาทิกา ภาค ๓ เล่ม ๓” นี้ แปลและเรียบเรียง โดย …
This post has no tag
Copyright
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
79 หมู่ 1 ตำบลลำไทร อำเภอวังน้อย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 13170
ติดต่อสอบถามและสั่งซื้อหนังสือ
โทร 035-248-000 ต่อ 8773,8770 โทรสาร 035-248-013
มือถือ 061-397-6166