Mcupbs

Author's details

Date registered: January 15, 2016

Latest posts

  1. ภาษาไทยไขขาน เล่ม ๒ — November 25, 2024
  2. ภาษาไทยไขขาน เล่ม ๑ — November 25, 2024
  3. คู่มือนักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรี วิชาธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ — March 22, 2024
  4. คู่มือนักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรี วิชาวินัยมุข และเบญจศีล-เบญจธรรม — March 22, 2024
  5. คู่มือนักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรี วิชากระทู้ธรรม — March 22, 2024

Author's posts listings

Mar 27

ประวัติพระพุทธศาสนา ฉบับปรับปรุง

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) ตำรา “ประวัติพระพุทธศาสนา” ฉบับปรับปรุง เป็นวิชาหนึ่งในหมวดวิชาแกนพระพุทธศาสนา โดยมีเนื้อหาอธิบายประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันความสำคัญและลักษณะเด่นของพระพุทธศาสนา การแยกนิกายของพระพุทธศาสนา การขยายตัวพระพุทธศาสนาเข้าไปในนานาประเทศและอิทธิพลของพระพุทธศาสนาต่อวัฒนธรรมในประเทศนั้นๆรวมทั้งศึกษาขบวนการและองค์กรใหม่ๆในวงการพระพุทธศาสนา ยุคปัจจุบันและอนาคต มีเนื้อหาแบ่งเป็น ๑๑ บท มุ่งหมายให้ศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ความสำคัญและลักษณะเด่นของพระพุทธศาสนา การแบ่งแยกแตกออกเป็นนิกายต่างๆ การขยายตัวของพระพุทธศาสนาเข้าไปเผยแผ่ยังนานาประเทศ อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่อวัฒนธรรมในประเทศนั้นๆตลอดถึงศึกษาขบวนการและองค์กรใหม่ๆของพระพุทธศาสนาในยุคปัจจุบันและอนาคต ตำรา“ประวัติพระพุทธศาสนา” ฉบับปรับปรุง แต่งโดย คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ซึ่งได้รวบรวมเนื้อหาสาระต่างๆแล้วสรุปร่วมกันเพื่อพัฒนาและแต่งตำราเล่มนี้ อันจะเป็นแหล่งสำหรับค้นคว้าเรียนรู้สำหรับนิสิต นักศึกษา และประชาชนผู้สนใจทั่วไป

Mar 27

ภาษาศาสตร์เบื้องต้น ฉบับปรับปรุง

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) ตำรา “ภาษาศาสตร์เบื้องต้น” เป็นวิชาหนึ่งในหมวดวิชาพื้นฐานทั่วไป ที่กำหนดให้ศึกษา ความหมายของภาษาและภาษาศาสตร์ สาขาของวิชาภาษาศาสตร์ เป็นต้น ตามหลักสูตรระดับปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตำรา “ภาษาศาสตร์เบื้องต้น” ฉบับปรับปรุง เล่มนี้ แต่งโดย คณาจารย์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีเนื้อหาแบ่งเป็น ๗ บท คือ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาและภาษาศาสตร์ สาขาภาษาศาสตร์ สัทศาสตร์ สรศาสตร์ สัทอักษรไทย หลักการวิเคราะห์ภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์ รวมถึงภาษาศาสตร์กับเปลี่ยนแปลงทางสังคม หวังเป็นอย่างยิ่งว่า ตำรา “ภาษาศาสตร์เบื้องต้น” ฉบับปรับปรุง เล่มนี้ คงอำนวยประโยชน์เชิงวิชาการด้านภาษาและภาษาศาสตร์ แก่คณาจารย์ นิสิต นักศึกษา และประชาชนผู้ที่สนใจสืบไป

Mar 24

พระไตรปิฎกศึกษา ฉบับปรับปรุง

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) ตำรา “พระไตรปิฎกศึกษา” เป็นวิชาหนึ่งในหมวดวิชาแกนพระพุทธศาสนา ที่กำหนดให้ศึกษา ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ตำรา “พระไตรปิฎกศึกษา” ฉบับปรับปรุง เล่มนี้ มีเนื้อหาสาระแบ่งเป็น ๙ บท มุ่งหมายให้ศึกษากำเนิด ความเป็นมา และพัฒนาการของคัมภีร์พระไตรปิฎก การจำแนกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก คำอธิบายโดยย่อของพระอรรถกถาจารย์ การรักษาสืบทอดโดยมุขปาฐะและลายลักษณ์อักษร ลำดับคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ในประเทศไทย พระไตรปิฎกนานาชาติและประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาพระไตรปิฎก

Mar 24

ภาษาอังกฤษเบื้องต้น

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) ตำรา “ภาษาอังกฤษเบื้องต้น” เป็นวิชาหนึ่งในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปที่กำหนดให้ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาอังกฤษ คำนำหน้านาม กาล ประโยค คำบุรพบท คำสันธาน และ การฝึกทักษะ ตำรา “ภาษาอังกฤษเบื้องต้น” เล่มนี้ ประกอบด้วยเนื้อหา ๖ บท มุ่งหมายให้ศึกษาเรียนรู้เรื่องความเป็นมาของภาษาอังกฤษโดยย่อ และการเรียนภาษาอังกฤษในประเทศไทยโดยย่อ ส่วนของคำพูดทั้ง ๘ เรื่อง อันได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม คำคุณศัพท์ คำกริยา คำกริยาวิเศษณ์ คำบุรพบท คำสันธาน คำอุทาน รวมถึงคำนำหน้านาม กาล ประโยค ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน

Mar 16

มังคลัตถทีปนีภาค๒เล่ม๓

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) มังคลัตถทีปนี เป็นคัมภีร์ที่ทรงคุณค่าทางพระพุทธศาสนาอีกคัมภีร์หนึ่งที่พระสิริมังคลาจารย์ นักปราชญ์ชาวล้านนา ได้รจนาขึ้นเป็นภาษาบาลี เมื่อ พ.ศ.๒๐๖๗ ในขณะอยู่จำพรรษา ณ วัดสวนขวัญ ปัจจุบันคือวัดตำหนัก จังหวัดเชียงใหม่ เพื่ออธิบายความในมงคลสูตร แห่งขุททกปาฐะ และสุตตนิบาต ขุททกนิกาย พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ในรูปของคาถาล้วนๆ โดยอธิบายความแห่งพระพุทธพจน์ในมงคลสูตร มีอรรถกถาอธิบายความชื่อว่าปรมัตถโชติกา ที่พระพุทธโฆสาจารย์ได้รจนาไว้ โดยท่านอธิบายถึงความหมายของพระสูตรนี้โดยละเอียด ด้วยภาษาบาลี อันไพเราะสละสลวย โดยนำเรื่องจากคัมภีร์อื่นๆ มาอธิบายประกอบอย่างกลมกลืนสอดคล้องกับเนื้อหาสาระเป็นอย่างนี้ มีการอ้างอิงที่ก้าวหน้าเกินยุคสมัย ถือได้ว่า เป็นการอธิบายข้อความที่ยากให้คนทั่วไปเข้าใจได้ง่ายอย่างชัดเจน อีกทั้งเพื่อให้ชาวล้านนาทราบเรื่องราวโดยละเอียดตามแนวของพระพุทธศาสนาได้เข้าใจเรื่องราวชัดเจนยิ่งขึ้น โดยไม่ต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากหลายๆแห่ง อีกทั้งผลงานของท่านยังเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความสนใจในการแสวงหาความรู้ด้านพระพุทธศาสนาของชาวล้านนาได้อย่างเป็นอย่างดี มังคลัตถทีปนี แสดงเนื้อหามงคล ๓๘ ประการ คือ (๑) การไม่คบคนพาล (๒) การคบแต่บัณฑิต (๓) การบูชาคนที่ควรบูชา (๔) การอยู่ในถิ่นที่เหมาะสม (๕) การได้สร้างบุญไว้ในปางก่อน (๖) การตั้งตนไว้ชอบ (๗) ความเป็นพหูสูต (๘) ความเป็นผู้มีศิลปะ …

Continue reading »

Mar 16

มังคลัตถทีปนีภาค๒เล่ม๒

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) มังคลัตถทีปนี เป็นคัมภีร์ที่ทรงคุณค่าทางพระพุทธศาสนาอีกคัมภีร์หนึ่งที่พระสิริมังคลาจารย์ นักปราชญ์ชาวล้านนา ได้รจนาขึ้นเป็นภาษาบาลี เมื่อ พ.ศ.๒๐๖๗ ในขณะอยู่จำพรรษา ณ วัดสวนขวัญ ปัจจุบันคือวัดตำหนัก จังหวัดเชียงใหม่ เพื่ออธิบายความในมงคลสูตร แห่งขุททกปาฐะ และสุตตนิบาต ขุททกนิกาย พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ในรูปของคาถาล้วนๆ โดยอธิบายความแห่งพระพุทธพจน์ในมงคลสูตร มีอรรถกถาอธิบายความชื่อว่าปรมัตถโชติกา ที่พระพุทธโฆสาจารย์ได้รจนาไว้ โดยท่านอธิบายถึงความหมายของพระสูตรนี้โดยละเอียด ด้วยภาษาบาลี อันไพเราะสละสลวย โดยนำเรื่องจากคัมภีร์อื่นๆ มาอธิบายประกอบอย่างกลมกลืนสอดคล้องกับเนื้อหาสาระเป็นอย่างนี้ มีการอ้างอิงที่ก้าวหน้าเกินยุคสมัย ถือได้ว่า เป็นการอธิบายข้อความที่ยากให้คนทั่วไปเข้าใจได้ง่ายอย่างชัดเจน อีกทั้งเพื่อให้ชาวล้านนาทราบเรื่องราวโดยละเอียดตามแนวของพระพุทธศาสนาได้เข้าใจเรื่องราวชัดเจนยิ่งขึ้น โดยไม่ต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากหลายๆแห่ง อีกทั้งผลงานของท่านยังเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความสนใจในการแสวงหาความรู้ด้านพระพุทธศาสนาของชาวล้านนาได้อย่างเป็นอย่างดี มังคลัตถทีปนี แสดงเนื้อหามงคล ๓๘ ประการ คือ (๑) การไม่คบคนพาล (๒) การคบแต่บัณฑิต (๓) การบูชาคนที่ควรบูชา (๔) การอยู่ในถิ่นที่เหมาะสม (๕) การได้สร้างบุญไว้ในปางก่อน (๖) การตั้งตนไว้ชอบ (๗) ความเป็นพหูสูต (๘) ความเป็นผู้มีศิลปะ …

Continue reading »

Mar 16

มังคลัตถทีปนีภาค๒เล่ม๑

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) มังคลัตถทีปนี เป็นคัมภีร์ที่ทรงคุณค่าทางพระพุทธศาสนาอีกคัมภีร์หนึ่งที่พระสิริมังคลาจารย์ นักปราชญ์ชาวล้านนา ได้รจนาขึ้นเป็นภาษาบาลี เมื่อ พ.ศ.๒๐๖๗ ในขณะอยู่จำพรรษา ณ วัดสวนขวัญ ปัจจุบันคือวัดตำหนัก จังหวัดเชียงใหม่ เพื่ออธิบายความในมงคลสูตร แห่งขุททกปาฐะ และสุตตนิบาต ขุททกนิกาย พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ในรูปของคาถาล้วนๆ โดยอธิบายความแห่งพระพุทธพจน์ในมงคลสูตร มีอรรถกถาอธิบายความชื่อว่าปรมัตถโชติกา ที่พระพุทธโฆสาจารย์ได้รจนาไว้ โดยท่านอธิบายถึงความหมายของพระสูตรนี้โดยละเอียด ด้วยภาษาบาลี อันไพเราะสละสลวย โดยนำเรื่องจากคัมภีร์อื่นๆ มาอธิบายประกอบอย่างกลมกลืนสอดคล้องกับเนื้อหาสาระเป็นอย่างนี้ มีการอ้างอิงที่ก้าวหน้าเกินยุคสมัย ถือได้ว่า เป็นการอธิบายข้อความที่ยากให้คนทั่วไปเข้าใจได้ง่ายอย่างชัดเจน อีกทั้งเพื่อให้ชาวล้านนาทราบเรื่องราวโดยละเอียดตามแนวของพระพุทธศาสนาได้เข้าใจเรื่องราวชัดเจนยิ่งขึ้น โดยไม่ต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากหลายๆแห่ง อีกทั้งผลงานของท่านยังเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความสนใจในการแสวงหาความรู้ด้านพระพุทธศาสนาของชาวล้านนาได้อย่างเป็นอย่างดี มังคลัตถทีปนี แสดงเนื้อหามงคล ๓๘ ประการ คือ (๑) การไม่คบคนพาล (๒) การคบแต่บัณฑิต (๓) การบูชาคนที่ควรบูชา (๔) การอยู่ในถิ่นที่เหมาะสม (๕) การได้สร้างบุญไว้ในปางก่อน (๖) การตั้งตนไว้ชอบ (๗) ความเป็นพหูสูต (๘) ความเป็นผู้มีศิลปะ …

Continue reading »

Mar 16

มังคลัตถทีปนีภาค๑เล่ม๒

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) มังคลัตถทีปนี เป็นคัมภีร์ที่ทรงคุณค่าทางพระพุทธศาสนาอีกคัมภีร์หนึ่งที่พระสิริมังคลาจารย์ นักปราชญ์ชาวล้านนา ได้รจนาขึ้นเป็นภาษาบาลี เมื่อ พ.ศ.๒๐๖๗ ในขณะอยู่จำพรรษา ณ วัดสวนขวัญ ปัจจุบันคือวัดตำหนัก จังหวัดเชียงใหม่ เพื่ออธิบายความในมงคลสูตร แห่งขุททกปาฐะ และสุตตนิบาต ขุททกนิกาย พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ในรูปของคาถาล้วนๆ โดยอธิบายความแห่งพระพุทธพจน์ในมงคลสูตร มีอรรถกถาอธิบายความชื่อว่าปรมัตถโชติกา ที่พระพุทธโฆสาจารย์ได้รจนาไว้ โดยท่านอธิบายถึงความหมายของพระสูตรนี้โดยละเอียด ด้วยภาษาบาลี อันไพเราะสละสลวย โดยนำเรื่องจากคัมภีร์อื่นๆ มาอธิบายประกอบอย่างกลมกลืนสอดคล้องกับเนื้อหาสาระเป็นอย่างนี้ มีการอ้างอิงที่ก้าวหน้าเกินยุคสมัย ถือได้ว่า เป็นการอธิบายข้อความที่ยากให้คนทั่วไปเข้าใจได้ง่ายอย่างชัดเจน อีกทั้งเพื่อให้ชาวล้านนาทราบเรื่องราวโดยละเอียดตามแนวของพระพุทธศาสนาได้เข้าใจเรื่องราวชัดเจนยิ่งขึ้น โดยไม่ต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากหลายๆ แห่ง อีกทั้งผลงานของท่านยังเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความสนใจในการแสวงหาความรู้ด้านพระพุทธ ศาสนาของชาวล้านนาได้อย่างเป็นอย่างดี มังคลัตถทีปนี แสดงเนื้อหามงคล ๓๘ ประการ คือ (๑) การไม่คบคนพาล (๒) การคบแต่บัณฑิต (๓) การบูชาคนที่ควรบูชา (๔) การอยู่ในถิ่นที่เหมาะสม (๕) การได้สร้างบุญไว้ในปางก่อน (๖) การตั้งตนไว้ชอบ (๗) ความเป็นพหูสูต …

Continue reading »

Mar 16

มังคลัตถทีปนีภาค๑เล่ม๑

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) มังคลัตถทีปนี เป็นคัมภีร์ที่ทรงคุณค่าทางพระพุทธศาสนาอีกคัมภีร์หนึ่งที่พระสิริมังคลาจารย์ นักปราชญ์ชาวล้านนา ได้รจนาขึ้นเป็นภาษาบาลี เมื่อ พ.ศ.๒๐๖๗ ในขณะอยู่จำพรรษา ณ วัดสวนขวัญ ปัจจุบันคือวัดตำหนัก จังหวัดเชียงใหม่ เพื่ออธิบายความในมงคลสูตร แห่งขุททกปาฐะ และสุตตนิบาต ขุททกนิกาย พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ในรูปของคาถาล้วนๆ โดยอธิบายความแห่งพระพุทธพจน์ในมงคลสูตร มีอรรถกถาอธิบายความชื่อว่าปรมัตถโชติกา ที่พระพุทธโฆสาจารย์ได้รจนาไว้ โดยท่านอธิบายถึงความหมายของพระสูตรนี้โดยละเอียด ด้วยภาษาบาลี อันไพเราะสละสลวย โดยนำเรื่องจากคัมภีร์อื่นๆ มาอธิบายประกอบอย่างกลมกลืนสอดคล้องกับเนื้อหาสาระเป็นอย่างนี้ มีการอ้างอิงที่ก้าวหน้าเกินยุคสมัย ถือได้ว่า เป็นการอธิบายข้อความที่ยากให้คนทั่วไปเข้าใจได้ง่ายอย่างชัดเจน อีกทั้งเพื่อให้ชาวล้านนาทราบเรื่องราวโดยละเอียดตามแนวของพระพุทธศาสนาได้เข้าใจเรื่องราวชัดเจนยิ่งขึ้น โดยไม่ต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากหลายๆ แห่ง อีกทั้งผลงานของท่านยังเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความสนใจในการแสวงหาความรู้ด้านพระพุทธ ศาสนาของชาวล้านนาได้อย่างเป็นอย่างดี มังคลัตถทีปนี แสดงเนื้อหามงคล ๓๘ ประการ คือ (๑) การไม่คบคนพาล (๒) การคบแต่บัณฑิต (๓) การบูชาคนที่ควรบูชา (๔) การอยู่ในถิ่นที่เหมาะสม (๕) การได้สร้างบุญไว้ในปางก่อน (๖) การตั้งตนไว้ชอบ (๗) ความเป็นพหูสูต …

Continue reading »

Mar 12

หนังสือ E-book สำนักพิมพ์ มจร

สำนักพิมพ์ มจร ได้จัดทำหนังสือ E-book เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ยุคใหม่ ประหยัดราคา และรักษาสิ่งแวดล้อม หากท่านใดสนใจสามารถจัดซื้อได้ทางเว็บไซต์ www.mebmarket.com โดยท่านสามารถดูรายละเอียดเนื้อหาของหนังสือแต่ละเล่มได้ตามลิงค์ด้านล่างนี้ http://pbs.mcu.ac.th/?page_id=1838  

Older posts «

» Newer posts