Mar 10

วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๖๓)

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก)

  • วารสารมหาจุฬาวิชาการ เป็นวารสารวิชาการ ราย ๔ เดือน (ปีละ ๓ ฉบับ) คือ ฉบับที่ ๑ เดือนมกราคม-เมษายน, ฉบับที่ ๒ เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม, ฉบับที่ ๓ เดือนกันยายน-ธันวาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัยด้านพระพุทธศาสนา เพื่อให้บริการทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนาแก่สังคม เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนแนวคิดทางพระพุทธศาสนา เพื่อสนับสนุนให้เกิดวารสารทางวิชาการกลางของมหาวิทยาลัย ในการเผยแพร่บทความวิชาการและบทความวิจัยแก่ผู้บริหาร คณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และนิสิต นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ในมิติทางด้านศาสนาและปรัชญา พระพุทธศาสนาบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ ในขอบข่ายเนื้อหาสาขาวิชาสังคมวิทยา ศิลปศาสตร์และสหวิทยาการด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ เปิดรับบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
    วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ พฤษภาคม – สิงหาคม ๒๕๖๓ ได้รวบรวมบทความวิชาการของผู้บริหาร คณาจารย์ของมหาวิทยาลัย รวมถึงคณาจารย์ต่างสถาบันได้ส่งบทความทางวิชาการมาร่วมตีพิมพ์ เพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ทำให้มีคณาจารย์ ได้มีโอกาสศึกษาพุทธธรรมและการนำไปประยุกต์ บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลักคำสอนทางพระศาสนาอันเป็นการบริการวิชาการแก่สังคม ในฉบับนี้ กองบรรณาธิการและคณะทำงานฝ่ายประสานงานได้รับเกียรติจากผู้เขียนทั้งภายในและภายนอก ส่งบทความทางวิชาการ เพื่อลงตีพิมพ์เผยแพร่ จำนวน ๒๕ บทความ แบ่งเป็น ๒ ภาค คือ ภาคภาษาไทย มี ๒๓ บทความ และภาคภาษาอังกฤษ ๒ บทความ ในบทความทั้งหมด แบ่งเป็นบทความวิชาการ ๒ บทความ บทความวิจัย ๒๓ บทความ อีกทั้งมีบทวิพากษ์หนังสือในท้ายเล่ม ซึ่งรายละเอียดบทความต่าง ๆ กองบรรณาธิการ ได้กล่าวถึงเนื้อหาของแต่ละบทความโดยสรุปภายในเล่ม

Mar 10

วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – เมษายน ๒๕๖๓)

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก)

  • วารสารมหาจุฬาวิชาการ เป็นวารสารวิชาการ ราย ๔ เดือน (ปีละ ๓ ฉบับ) คือ ฉบับที่ ๑ เดือนมกราคม-เมษายน, ฉบับที่ ๒ เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม, ฉบับที่ ๓ เดือนกันยายน-ธันวาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัยด้านพระพุทธศาสนา เพื่อให้บริการทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนาแก่สังคม เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนแนวคิดทางพระพุทธศาสนา เพื่อสนับสนุนให้เกิดวารสารทางวิชาการกลางของมหาวิทยาลัย ในการเผยแพร่บทความวิชาการและบทความวิจัยแก่ผู้บริหาร คณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และนิสิต นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ในมิติทางด้านศาสนาและปรัชญา พระพุทธศาสนาบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ ในขอบข่ายเนื้อหาสาขาวิชาสังคมวิทยา ศิลปศาสตร์และสหวิทยาการด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ เปิดรับบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
    วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ มกราคม – เมษายน ๒๕๖๓ ได้รวบรวมบทความวิชาการของผู้บริหาร คณาจารย์ของมหาวิทยาลัย รวมถึงคณาจารย์ต่างสถาบันได้ส่งบทความวิจัยและบทความวิชาการมาร่วมตีพิมพ์ เพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ทำให้มีคณาจารย์ ได้มีโอกาสศึกษาพุทธธรรมและการนำไปประยุกต์ บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลักคำสอนทางพระศาสนาอันเป็นการบริการวิชาการแก่สังคม ในฉบับนี้ กองบรรณาธิการและคณะทำงานฝ่ายประสานงานได้รับเกียรติจากผู้เขียนทั้งในและภายนอก ส่งบทความทางวิชาการ เพื่อลงตีพิมพ์เผยแพร่ จำนวน ๒๒ บทความ แบ่งเป็น ๒ ภาค คือ ภาคภาษาไทย มี ๒๐ บทความ และภาคภาษาอังกฤษ ๒ บทความ ในบทความทั้งหมด แบ่งเป็นบทความวิชาการ ๔ บทความ บทความวิจัย ๑๘ บทความ อีกทั้งมีบทวิพากษ์หนังสือ ซึ่งรายละเอียดบทความต่าง ๆ กองบรรณาธิการ ได้กล่าวถึงเนื้อหาของแต่ละบทความโดยสรุปภายในเล่ม

Mar 10

วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๖ ฉบับพิเศษ เนื่องในงานพิธีประสาทปริญญา ประจำปี ๒๕๖๒

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก)

  • วารสารมหาจุฬาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวารสารวิชาการ กำหนดออกปีละ ๒ ฉบับ คือ ฉบับที่ ๑ เดือน มกราคม-มิถุนายน และฉบับที่ ๒ เดือน กรกฎาคม-ธันวาคม เริ่มตีพิมพ์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นมา นับเป็นปีที่ ๖ แล้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัยด้านพระพุทธศาสนา เผยแพร่ผลงานวิชาการด้านพระพุทธศาสนาทั้งบทความวิชาการและบทความวิจัยของผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนิสิต เมื่อมหาวิทยาลัยได้กำหนดให้มีงานพิธีประสาทปริญญา ประจำปี ๒๕๖๒ ขึ้น จึงเป็นโอกาสอันดีที่จะได้เผยแพร่บทความวิชาการและบทความวิจัยดังกล่าว เพื่อการบริการทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนาแก่สังคม คณะบรรณาธิการ จึงแจ้งการตีพิมพ์วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๖ ฉบับพิเศษ เนื่องในงานพิธีประสาทปริญญา ประจำปี ๒๕๖๒ เพิ่มจากวาระปกติ ทั้งนี้ เพื่อเผยแพร่บทความวิชาการและบทความวิจัย ของผู้บริหาร คณาจารย์ และนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา ทั้งภายในและภายนอก
    วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๖ ฉบับพิเศษ เนื่องในงานพิธีประสาทปริญญา ประจำปี ๒๕๖๒ ฉบับนี้ จัดทำขึ้น เนื่องในวาระสำคัญดังกล่าวข้างต้น โดยมีการรวบรวมบทความทางวิชาการและบทความวิจัย ภาคภาษาไทย จำนวน ๓๐ บทความ ประกอบด้วย (๑) บทความวิชาการ จำนวน ๔ บทความ และ(๒) บทความวิจัย จำนวน ๒๖ บทความ จากผู้บริหาร คณาจารย์ ตลอดถึงนิสิต นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาทั้งภายในและภายนอก ที่ได้ผลิตผลงานทางวิชาการ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการเผยแพร่บทความวิชาการและบทความวิจัยเนื่องในงานพิธีประสาทปริญญา ประจำปี ๒๕๖๒ ในครั้งนี้ และในตอนท้าย ยังมีบทวิพากษ์หนังสือรวมอยู่ด้วย

Mar 10

วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๒)

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก)

  • วารสารมหาจุฬาวิชาการ เป็นวารสารวิชาการ ราย ๖ เดือน (ปีละ ๒ ฉบับ) คือ ฉบับที่ ๑ เดือน มกราคม-มิถุนายน, ฉบับที่ ๒ เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัยด้านพระพุทธศาสนา เพื่อให้บริการทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนาแก่สังคม เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนแนวคิดทางพระพุทธศาสนา เพื่อสนับสนุนให้เกิดวารสารทางวิชาการกลางของมหาวิทยาลัย ในการเผยแพร่บทความวิชาการและบทความวิจัยแก่ผู้บริหาร คณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และนิสิต นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ในมิติทางด้านศาสนาและปรัชญา พระพุทธศาสนาบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ ในขอบข่ายเนื้อหาสาขาวิชาสังคมวิทยา ศิลปศาสตร์และสหวิทยาการด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ เปิดรับบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
    วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๒ ได้รวบรวมบทความวิชาการของผู้บริหาร คณาจารย์ของมหาวิทยาลัย รวมถึงคณาจารย์ต่างสถาบัน ได้ส่งบทความทางวิชาการมาร่วมตีพิมพ์ เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ทำให้คณาจารย์ ได้มีโอกาสศึกษาพุทธธรรมและการนำไปประยุกต์ บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลักคำสอนทางพระศาสนา อันเป็นการบริหารวิชาการแก่สังคม ในฉบับนี้ กองบรรณาธิการและคณะทำงานฝ่ายประสานงานได้รับเกียรติจากผู้เขียนทั้งภายในและภายนอก ส่งบทความทางวิชาการ เพื่อลงตีพิมพ์เผยแพร่ จำนวน ๒๖ บทความ มีเพียงภาคภาษาไทยเท่านั้น แบ่งเป็น บทความวิจัย ๒๔ บทความ บทความวิชาการ ๒ บทความ อีกทั้งมีบทวิพากษ์หนังสือซึ่งรายละเอียดบทความต่าง ๆ กองบรรณาธิการได้กล่าวถึงเนื้อหาของแต่ละบทความโดยสรุปภายในเล่ม

Mar 10

วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๒)

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก)

  • วารสารมหาจุฬาวิชาการ เป็นวารสารวิชาการ ราย ๖ เดือน (ปีละ ๒ ฉบับ) คือ ฉบับที่ ๑ เดือน มกราคม-มิถุนายน, ฉบับที่ ๒ เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัยด้านพระพุทธศาสนา เพื่อให้บริการทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนาแก่สังคม เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนแนวคิดทางพระพุทธศาสนา เพื่อสนับสนุนให้เกิดวารสารทางวิชาการกลางของมหาวิทยาลัย ในการเผยแพร่บทความวิชาการและบทความวิจัยแก่ผู้บริหาร คณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และนิสิต นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ในมิติทางด้านศาสนาและปรัชญา พระพุทธศาสนาบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ ในขอบข่ายเนื้อหาสาขาวิชาสังคมวิทยา ศิลปศาสตร์และสหวิทยาการด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ เปิดรับบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
    วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๒ ได้รวบรวมบทความวิชาการของผู้บริหาร คณาจารย์ของมหาวิทยาลัย รวมถึงคณาจารย์ต่างสถาบัน ได้ส่งบทความทางวิชาการมาร่วมตีพิมพ์ เพื่อเป็นเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ทำให้มีคณาจารย์ ได้มีโอกาสศึกษาพุทธธรรมและการนำไปประยุกต์ บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลักคำสอนทางพระศาสนา อันเป็นการบริการวิชาการแก่สังคม ในฉบับนี้ กองบรรณาธิการและคณะทำงานฝายประสานงาน ได้รับเกียรติจากผู้เขียนทั้งภายในและภายนอก ส่งบทความทางวิชาการ เพื่อลงตีพิมพ์เผยแพร่ จำนวน ๒๑ บทความ แบ่งเป็น ๒ ภาค คือ ภาคภาษาไทย มี ๑๙ บทความ และภาคภาษาอังกฤษ ๒ บทความ ในบทความทั้งหมด แบ่งเป็นบทความวิชาการ ๖ บทความ บทความวิจัย ๑๕ บทความ อีกทั้งมีบทวิพากษ์หนังสือซึ่งรายละเอียดบทความต่างๆ กองบรรณาธิการ ได้กล่าวถึงเนื้อหาของแต่ละบทความโดยสรุปภายในเล่ม

Mar 10

วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๕ ฉบับพิเศษ เนื่องในงานพิธีประสาทปริญญา ประจำปี ๒๕๖๑

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก)

  • วารสารมหาจุฬาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวารสารวิชาการ กำหนดออกปีละ ๒ ฉบับ ฉบับที่ ๑ เดือน มกราคม-มิถุนายน และฉบับที่ ๒ เดือน กรกฏาคม-ธันวาคม เริ่มตีพิมพ์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นต้นมา นับเป็นปีที่ ๕ แล้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัยด้านพระพุทธศาสนา โดยเผยแพร่ผลงานวิชาการด้านพระพุทธศาสนาทั้งบทความวิชาการและบทความวิจัย ของผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา ทั้งภายในและภายนอก เมื่อมหาวิทยาลัยได้กำหนดให้มีงานพิธีประสาทปริญญา ประจำปี ๒๕๖๑ ขึ้น จึงเป็นโอกาสอันดีที่จะได้เผยแพร่บทความวิชาการและบทความวิจัยดังกล่าว เพื่อการบริการทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนาแก่สังคม คณะบรรณาธิการ วารสารมหาจุฬาวิชาการ จึงแจ้งการตีพิมพ์วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๕ ฉบับพิเศษ เนื่องในงานพิธีประสาทปริญญา ประจำปี ๒๕๖๑ เพิ่มเติมจากวาระปกติ ทั้งนี้ เพื่อเผยแพร่บทความวิชาการและบทความวิจัย ของผู้บริหาร คณาจารย์ และนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา ทั้งภายในและภายนอก
    วารสารมหาจุฬาวิชาการ ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเป็นฉบับพิเศษ เนื่องในวาระสำคัญดังกล่าวข้างต้น โดยมีการรวบรวมบทความทางวิชาการและบทความวิจัย ทั้งภาคภาษาไทย จำนวน ๒๐ บทความ และภาคภาษาอังกฤษ จำนวน ๑ บทความ จากผู้บริหาร คณาจารย์ ตลอดถึงนิสิต นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาทั้งภายในและภายในอก ที่ได้ผลิตผลงานทางวิชาการ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการเผยแพร่บทความวิชาการและบทความวิจัย เนื่องในงานพิธีประสาทปริญญา ประจำปี ๒๕๖๑ ในครั้งนี้ ในตอนท้ายยังมีบทวิพากษ์หนังสือรวมอยู่ด้วย

Mar 10

วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๑)

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก)

  • วารสารมหาจุฬาวิชาการ เป็นวารสารวิชาการ ราย ๖ เดือน (ปีละ ๒ ฉบับ) คือ ฉบับที่ ๑ เดือน มกราคม-มิถุนายน, ฉบับที่ ๒ เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัยด้านพระพุทธศาสนา เพื่อให้บริการทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนาแก่สังคม เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนแนวคิดทางพระพุทธศาสนา เพื่อสนับสนุนให้เกิดวารสารทางวิชาการกลางของมหาวิทยาลัย ในการเผยแพร่บทความวิชาการและบทความวิจัยแก่ผู้บริหาร คณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และนิสิต นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ในมิติทางด้านศาสนาและปรัชญา พระพุทธศาสนาบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ ในขอบข่ายเนื้อหาสาขาวิชาสังคมวิทยา ศิลปศาสตร์และสหวิทยาการด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ เปิดรับบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
    วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๑ ได้รวบรวมบทความวิชาการของผู้บริหาร คณาจารย์ของมหาวิทยาลัย รวมถึงคณาจารย์ต่างสถาบัน ได้ส่งบทความทางวิชาการมาร่วมตีพิมพ์ เพื่อเป็นเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ทำให้มีคณาจารย์ ได้มีโอกาสได้ศึกษาพุทธธรรมและนำไปประยุกต์ บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลักคำสอนทางพระศาสนา อันเป็นการบริการวิชาการแก่สังคม ในครั้งนี้ กองบรรณาธิการและคณะทำงานฝ่ายประสานงาน ได้รับเกียรติจากผู้เขียนทั้งภายในและภายนอก ส่งบทความทางวิชาการ เพื่อลงตีพิมพ์เผยแพร่ จำนวน ๒๐ บทความ แบ่งเป็นบทความวิจัย ๑๙ และบทความวิชาการ ๑ อีกทั้งมีบทวิพากษ์หนังสือซึ่งรายละเอียดบทความต่างๆ กองบรรณาธิการได้กล่าวถึงเนื้อหาของแต่ละบทความโดยสรุปภายในเล่ม

Mar 10

วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๑)

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก)

  • วารสารมหาจุฬาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวารสารวิชาการ ราย ๖ เดือน (ปีละ ๒ ฉบับ) คือ ฉบับที่ ๑ เดือน มกราคม-มิถุนายน, ฉบับที่ ๒ เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัยด้านพระพุทธศาสนา เพื่อให้บริการทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนาแก่สังคม เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนแนวคิดทางพระพุทธศาสนา เพื่อสนับสนุนให้เกิดวารสารทางวิชาการกลางของมหาวิทยาลัย ในการเผยแพร่บทความวิชาการและบทความวิจัยแก่ผู้บริหาร คณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และนิสิต นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ในมิติทางด้านศาสนาและปรัชญา พระพุทธศาสนาบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ ในขอบข่ายเนื้อหาสาขาวิชาสังคมวิทยา ศิลปศาสตร์ และสหวิทยาการด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ เปิดรับบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
    วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ มกราคม – มิถุนายน ๒๕๖๑ ได้รวบรวมบทความวิชาการของผู้บริหาร คณาจารย์ของมหาวิทยาลัย รวมถึงคณาจารย์ต่างสถาบัน ได้ส่งบทความทางวิชาการมาร่วมตีพิมพ์ เพื่อเป็นเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ทำให้มีคณาจารย์ ได้มีโอกาสได้ศึกษาพุทธธรรมและการนำไปประยุกต์กับศาสตร์สมัยใหม่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลักคำสอนทางพระศาสนา อันเป็นการบริการวิชาการแก่สังคม ในครั้งนี้ กองบรรณาธิการและคณะทำงานฝายประสานงาน ได้รับเกียรติจากผู้เขียนทั้งภายในและภายนอก ส่งบทความทางวิชาการ เพื่อลงตีพิมพ์เผยแพร่ จำนวน ๑๗ บทความ แบ่งเป็นบทความวิจัย ๑๕ และบทความวิชาการ ๒ อีกทั้งมีบทวิพากษ์หนังสือซึ่งรายละเอียดบทความต่างๆ กองบรรณาธิการ ได้กล่าวถึงเนื้อหาของแต่ละบทความโดยสรุปภายในเล่ม

Mar 10

วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐)

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก)

  • วารสารมหาจุฬาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวารสารวิชาการ ราย ๖ เดือน (ปีละ ๒ ฉบับ) คือ ฉบับที่ ๑ เดือน มกราคม-มิถุนายน, ฉบับที่ ๒ เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัยด้านพระพุทธศาสนา เพื่อให้บริการทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนาแก่สังคม เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนแนวคิดทางพระพุทธศาสนา เพื่อสนับสนุนให้เกิดวารสารทางวิชาการกลางของมหาวิทยาลัย ในการเผยแพร่บทความวิชาการและบทความวิจัยแก่ผู้บริหาร คณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และนิสิต นักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ในมิติทางด้านศาสนาและปรัชญา พระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่ ในขอบข่ายเนื้อหาสาขาวิชาสังคมวิทยา ศิลปศาสตร์ และสหวิทยาการด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ เปิดรับบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
    วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๐ ได้รวบรวมบทความวิชาการของผู้บริหาร คณาจารย์ของมหาวิทยาลัย รวมถึงคณาจารย์ต่างสถาบัน ร่วมส่งบทความทางวิชาการมาร่วมตีพิมพ์ เพื่อเป็นเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ทำให้มีคณาจารย์ ได้มีโอกาสได้ศึกษาพุทธธรรมและการนำไปประยุกต์กับศาสตร์สมัยใหม่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลักคำสอนทางพระศาสนา อันเป็นการบริการวิชาการแก่สังคม
    ในครั้งนี้ กองบรรณาธิการและคณะทำงานฝ่ายประสานงาน ได้รับเกียรติจากผู้เขียนทั้งภายในและภายนอก ส่งบทความทางวิชาการ จำนวน ๓ บทความและบทความวิจัย จำนวน ๑๑ บทความ เพื่อลงตีพิมพ์เผยแพร่ รวมจำนวนทั้งสิ้น ๑๔ บทความ ประกอบด้วยเนื้อหาภาคภาษาไทย ๑๓ บทความ และภาคภาษาอังกฤษ ๑ บทความ และมีบทวิจารณ์หนังสือ “๔๗ เรื่องต้องรู้ก่อนไปหาหมอ อย่าให้หมอฆ่าคุณ” ซึ่งเป็นผลงานของ คนโด มะโกะโตะ ซึ่งรายละเอียดบทความต่างๆ กองบรรณาธิการ ได้กล่าวถึงเนื้อหาของแต่ละบทความโดยสรุปภายในเล่ม

Mar 10

วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๐)

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก)

  • วารสารมหาจุฬาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นวารสารวิชาการ ราย ๖ เดือน (ปีละ ๒ ฉบับ) คือ ฉบับที่ ๑ เดือน มกราคม-มิถุนายน, ฉบับที่ ๒ เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการผลิตผลงานทางวิชาการและงานวิจัยด้านพระพุทธศาสนา เพื่อให้ บริการทางวิชาการด้านพระพุทธศาสนาแก่สังคม เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนแนวคิดทางพระพุทธศาสนา เพื่อสนับสนุนให้เกิดวารสารทางวิชาการกลางของมหาวิทยาลัย ในการเผยแพร่บทความวิชาการ และบทความวิจัยแก ผู้บริหาร คณาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย และนิสิต นักศึกษาในระดับ บัณฑิตศึกษา ในมิติทางด้านศาสนาและปรัชญา พระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่ ในขอบข่าย เนื้อหาสาขาวิชาสังคมวิทยา ศิลปศาสตร์และสหวิทยาการด้านมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์เปิดรับ บทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
    วารสารมหาจุฬาวิชาการ ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๑ มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๐ ได้รวบรวมบทความ วิชาการของผู้บริหาร ผู้ทรงคุณวุฒิคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยรวมถึงคณาจารย์ต่างสถาบัน ร่วมส่ง บทความทางวิชาการมาร่วมตีพิมพ์ เพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ทำให้มีโอกาสได้ศึกษา พุทธธรรมและการนำไปประยุกต์กับศาสตร์สมัยใหม่ รวมถึงได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามหลักคำสอน ทางพระศาสนา อันเป็นการบริการวิชาการแก่สังคม ในครั้งนี้กองบรรณาธิการและคณะทำงานฝ่ายจัดทำวารสารมหาจุฬาวิชาการ ได้รับเกียรติจาก ผู้บริหารผู้ทรงคุณวุฒิคณาจารย์และนิสิตของมหาวิทยาลัยคณาจารย์ต่างสถาบัน ได้ส่งบทความวิชาการ เพื่อลงตีพิมพ์เผยแพร่ ประกอบด้วยบทความทางวิชาการ เนื้อหาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา พระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์และบทความวิจัย รวมทั้งสิ้น ๑๔ บทความ โดยมีเนื้อหาภาคภาษาไทย ๑๓ บทความ และภาคภาษาอังกฤษ ๑ บทความ ซึ่งรายละเอียด บทความต่าง ๆ กองบรรณาธิการ ได้กล่าวถึงเนื้อหาของแต่ละบทความโดยสรุปภายในเล่ม

Older posts «

» Newer posts