Category Archive: E-book

Mar 24

ภาษาอังกฤษเบื้องต้น

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) ตำรา “ภาษาอังกฤษเบื้องต้น” เป็นวิชาหนึ่งในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปที่กำหนดให้ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาอังกฤษ คำนำหน้านาม กาล ประโยค คำบุรพบท คำสันธาน และ การฝึกทักษะ ตำรา “ภาษาอังกฤษเบื้องต้น” เล่มนี้ ประกอบด้วยเนื้อหา ๖ บท มุ่งหมายให้ศึกษาเรียนรู้เรื่องความเป็นมาของภาษาอังกฤษโดยย่อ และการเรียนภาษาอังกฤษในประเทศไทยโดยย่อ ส่วนของคำพูดทั้ง ๘ เรื่อง อันได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม คำคุณศัพท์ คำกริยา คำกริยาวิเศษณ์ คำบุรพบท คำสันธาน คำอุทาน รวมถึงคำนำหน้านาม กาล ประโยค ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษด้านการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน

Mar 16

มังคลัตถทีปนีภาค๒เล่ม๓

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) มังคลัตถทีปนี เป็นคัมภีร์ที่ทรงคุณค่าทางพระพุทธศาสนาอีกคัมภีร์หนึ่งที่พระสิริมังคลาจารย์ นักปราชญ์ชาวล้านนา ได้รจนาขึ้นเป็นภาษาบาลี เมื่อ พ.ศ.๒๐๖๗ ในขณะอยู่จำพรรษา ณ วัดสวนขวัญ ปัจจุบันคือวัดตำหนัก จังหวัดเชียงใหม่ เพื่ออธิบายความในมงคลสูตร แห่งขุททกปาฐะ และสุตตนิบาต ขุททกนิกาย พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ในรูปของคาถาล้วนๆ โดยอธิบายความแห่งพระพุทธพจน์ในมงคลสูตร มีอรรถกถาอธิบายความชื่อว่าปรมัตถโชติกา ที่พระพุทธโฆสาจารย์ได้รจนาไว้ โดยท่านอธิบายถึงความหมายของพระสูตรนี้โดยละเอียด ด้วยภาษาบาลี อันไพเราะสละสลวย โดยนำเรื่องจากคัมภีร์อื่นๆ มาอธิบายประกอบอย่างกลมกลืนสอดคล้องกับเนื้อหาสาระเป็นอย่างนี้ มีการอ้างอิงที่ก้าวหน้าเกินยุคสมัย ถือได้ว่า เป็นการอธิบายข้อความที่ยากให้คนทั่วไปเข้าใจได้ง่ายอย่างชัดเจน อีกทั้งเพื่อให้ชาวล้านนาทราบเรื่องราวโดยละเอียดตามแนวของพระพุทธศาสนาได้เข้าใจเรื่องราวชัดเจนยิ่งขึ้น โดยไม่ต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากหลายๆแห่ง อีกทั้งผลงานของท่านยังเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความสนใจในการแสวงหาความรู้ด้านพระพุทธศาสนาของชาวล้านนาได้อย่างเป็นอย่างดี มังคลัตถทีปนี แสดงเนื้อหามงคล ๓๘ ประการ คือ (๑) การไม่คบคนพาล (๒) การคบแต่บัณฑิต (๓) การบูชาคนที่ควรบูชา (๔) การอยู่ในถิ่นที่เหมาะสม (๕) การได้สร้างบุญไว้ในปางก่อน (๖) การตั้งตนไว้ชอบ (๗) ความเป็นพหูสูต (๘) ความเป็นผู้มีศิลปะ …

Continue reading »

Mar 16

มังคลัตถทีปนีภาค๒เล่ม๒

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) มังคลัตถทีปนี เป็นคัมภีร์ที่ทรงคุณค่าทางพระพุทธศาสนาอีกคัมภีร์หนึ่งที่พระสิริมังคลาจารย์ นักปราชญ์ชาวล้านนา ได้รจนาขึ้นเป็นภาษาบาลี เมื่อ พ.ศ.๒๐๖๗ ในขณะอยู่จำพรรษา ณ วัดสวนขวัญ ปัจจุบันคือวัดตำหนัก จังหวัดเชียงใหม่ เพื่ออธิบายความในมงคลสูตร แห่งขุททกปาฐะ และสุตตนิบาต ขุททกนิกาย พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ในรูปของคาถาล้วนๆ โดยอธิบายความแห่งพระพุทธพจน์ในมงคลสูตร มีอรรถกถาอธิบายความชื่อว่าปรมัตถโชติกา ที่พระพุทธโฆสาจารย์ได้รจนาไว้ โดยท่านอธิบายถึงความหมายของพระสูตรนี้โดยละเอียด ด้วยภาษาบาลี อันไพเราะสละสลวย โดยนำเรื่องจากคัมภีร์อื่นๆ มาอธิบายประกอบอย่างกลมกลืนสอดคล้องกับเนื้อหาสาระเป็นอย่างนี้ มีการอ้างอิงที่ก้าวหน้าเกินยุคสมัย ถือได้ว่า เป็นการอธิบายข้อความที่ยากให้คนทั่วไปเข้าใจได้ง่ายอย่างชัดเจน อีกทั้งเพื่อให้ชาวล้านนาทราบเรื่องราวโดยละเอียดตามแนวของพระพุทธศาสนาได้เข้าใจเรื่องราวชัดเจนยิ่งขึ้น โดยไม่ต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากหลายๆแห่ง อีกทั้งผลงานของท่านยังเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความสนใจในการแสวงหาความรู้ด้านพระพุทธศาสนาของชาวล้านนาได้อย่างเป็นอย่างดี มังคลัตถทีปนี แสดงเนื้อหามงคล ๓๘ ประการ คือ (๑) การไม่คบคนพาล (๒) การคบแต่บัณฑิต (๓) การบูชาคนที่ควรบูชา (๔) การอยู่ในถิ่นที่เหมาะสม (๕) การได้สร้างบุญไว้ในปางก่อน (๖) การตั้งตนไว้ชอบ (๗) ความเป็นพหูสูต (๘) ความเป็นผู้มีศิลปะ …

Continue reading »

Mar 16

มังคลัตถทีปนีภาค๒เล่ม๑

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) มังคลัตถทีปนี เป็นคัมภีร์ที่ทรงคุณค่าทางพระพุทธศาสนาอีกคัมภีร์หนึ่งที่พระสิริมังคลาจารย์ นักปราชญ์ชาวล้านนา ได้รจนาขึ้นเป็นภาษาบาลี เมื่อ พ.ศ.๒๐๖๗ ในขณะอยู่จำพรรษา ณ วัดสวนขวัญ ปัจจุบันคือวัดตำหนัก จังหวัดเชียงใหม่ เพื่ออธิบายความในมงคลสูตร แห่งขุททกปาฐะ และสุตตนิบาต ขุททกนิกาย พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ในรูปของคาถาล้วนๆ โดยอธิบายความแห่งพระพุทธพจน์ในมงคลสูตร มีอรรถกถาอธิบายความชื่อว่าปรมัตถโชติกา ที่พระพุทธโฆสาจารย์ได้รจนาไว้ โดยท่านอธิบายถึงความหมายของพระสูตรนี้โดยละเอียด ด้วยภาษาบาลี อันไพเราะสละสลวย โดยนำเรื่องจากคัมภีร์อื่นๆ มาอธิบายประกอบอย่างกลมกลืนสอดคล้องกับเนื้อหาสาระเป็นอย่างนี้ มีการอ้างอิงที่ก้าวหน้าเกินยุคสมัย ถือได้ว่า เป็นการอธิบายข้อความที่ยากให้คนทั่วไปเข้าใจได้ง่ายอย่างชัดเจน อีกทั้งเพื่อให้ชาวล้านนาทราบเรื่องราวโดยละเอียดตามแนวของพระพุทธศาสนาได้เข้าใจเรื่องราวชัดเจนยิ่งขึ้น โดยไม่ต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากหลายๆแห่ง อีกทั้งผลงานของท่านยังเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความสนใจในการแสวงหาความรู้ด้านพระพุทธศาสนาของชาวล้านนาได้อย่างเป็นอย่างดี มังคลัตถทีปนี แสดงเนื้อหามงคล ๓๘ ประการ คือ (๑) การไม่คบคนพาล (๒) การคบแต่บัณฑิต (๓) การบูชาคนที่ควรบูชา (๔) การอยู่ในถิ่นที่เหมาะสม (๕) การได้สร้างบุญไว้ในปางก่อน (๖) การตั้งตนไว้ชอบ (๗) ความเป็นพหูสูต (๘) ความเป็นผู้มีศิลปะ …

Continue reading »

Mar 16

มังคลัตถทีปนีภาค๑เล่ม๒

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) มังคลัตถทีปนี เป็นคัมภีร์ที่ทรงคุณค่าทางพระพุทธศาสนาอีกคัมภีร์หนึ่งที่พระสิริมังคลาจารย์ นักปราชญ์ชาวล้านนา ได้รจนาขึ้นเป็นภาษาบาลี เมื่อ พ.ศ.๒๐๖๗ ในขณะอยู่จำพรรษา ณ วัดสวนขวัญ ปัจจุบันคือวัดตำหนัก จังหวัดเชียงใหม่ เพื่ออธิบายความในมงคลสูตร แห่งขุททกปาฐะ และสุตตนิบาต ขุททกนิกาย พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ในรูปของคาถาล้วนๆ โดยอธิบายความแห่งพระพุทธพจน์ในมงคลสูตร มีอรรถกถาอธิบายความชื่อว่าปรมัตถโชติกา ที่พระพุทธโฆสาจารย์ได้รจนาไว้ โดยท่านอธิบายถึงความหมายของพระสูตรนี้โดยละเอียด ด้วยภาษาบาลี อันไพเราะสละสลวย โดยนำเรื่องจากคัมภีร์อื่นๆ มาอธิบายประกอบอย่างกลมกลืนสอดคล้องกับเนื้อหาสาระเป็นอย่างนี้ มีการอ้างอิงที่ก้าวหน้าเกินยุคสมัย ถือได้ว่า เป็นการอธิบายข้อความที่ยากให้คนทั่วไปเข้าใจได้ง่ายอย่างชัดเจน อีกทั้งเพื่อให้ชาวล้านนาทราบเรื่องราวโดยละเอียดตามแนวของพระพุทธศาสนาได้เข้าใจเรื่องราวชัดเจนยิ่งขึ้น โดยไม่ต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากหลายๆ แห่ง อีกทั้งผลงานของท่านยังเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความสนใจในการแสวงหาความรู้ด้านพระพุทธ ศาสนาของชาวล้านนาได้อย่างเป็นอย่างดี มังคลัตถทีปนี แสดงเนื้อหามงคล ๓๘ ประการ คือ (๑) การไม่คบคนพาล (๒) การคบแต่บัณฑิต (๓) การบูชาคนที่ควรบูชา (๔) การอยู่ในถิ่นที่เหมาะสม (๕) การได้สร้างบุญไว้ในปางก่อน (๖) การตั้งตนไว้ชอบ (๗) ความเป็นพหูสูต …

Continue reading »

Mar 16

มังคลัตถทีปนีภาค๑เล่ม๑

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) มังคลัตถทีปนี เป็นคัมภีร์ที่ทรงคุณค่าทางพระพุทธศาสนาอีกคัมภีร์หนึ่งที่พระสิริมังคลาจารย์ นักปราชญ์ชาวล้านนา ได้รจนาขึ้นเป็นภาษาบาลี เมื่อ พ.ศ.๒๐๖๗ ในขณะอยู่จำพรรษา ณ วัดสวนขวัญ ปัจจุบันคือวัดตำหนัก จังหวัดเชียงใหม่ เพื่ออธิบายความในมงคลสูตร แห่งขุททกปาฐะ และสุตตนิบาต ขุททกนิกาย พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕ ที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงไว้ในรูปของคาถาล้วนๆ โดยอธิบายความแห่งพระพุทธพจน์ในมงคลสูตร มีอรรถกถาอธิบายความชื่อว่าปรมัตถโชติกา ที่พระพุทธโฆสาจารย์ได้รจนาไว้ โดยท่านอธิบายถึงความหมายของพระสูตรนี้โดยละเอียด ด้วยภาษาบาลี อันไพเราะสละสลวย โดยนำเรื่องจากคัมภีร์อื่นๆ มาอธิบายประกอบอย่างกลมกลืนสอดคล้องกับเนื้อหาสาระเป็นอย่างนี้ มีการอ้างอิงที่ก้าวหน้าเกินยุคสมัย ถือได้ว่า เป็นการอธิบายข้อความที่ยากให้คนทั่วไปเข้าใจได้ง่ายอย่างชัดเจน อีกทั้งเพื่อให้ชาวล้านนาทราบเรื่องราวโดยละเอียดตามแนวของพระพุทธศาสนาได้เข้าใจเรื่องราวชัดเจนยิ่งขึ้น โดยไม่ต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากหลายๆ แห่ง อีกทั้งผลงานของท่านยังเป็นการสะท้อนให้เห็นถึงความสนใจในการแสวงหาความรู้ด้านพระพุทธ ศาสนาของชาวล้านนาได้อย่างเป็นอย่างดี มังคลัตถทีปนี แสดงเนื้อหามงคล ๓๘ ประการ คือ (๑) การไม่คบคนพาล (๒) การคบแต่บัณฑิต (๓) การบูชาคนที่ควรบูชา (๔) การอยู่ในถิ่นที่เหมาะสม (๕) การได้สร้างบุญไว้ในปางก่อน (๖) การตั้งตนไว้ชอบ (๗) ความเป็นพหูสูต …

Continue reading »

Mar 12

หนังสือ E-book สำนักพิมพ์ มจร

สำนักพิมพ์ มจร ได้จัดทำหนังสือ E-book เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ยุคใหม่ ประหยัดราคา และรักษาสิ่งแวดล้อม หากท่านใดสนใจสามารถจัดซื้อได้ทางเว็บไซต์ www.mebmarket.com โดยท่านสามารถดูรายละเอียดเนื้อหาของหนังสือแต่ละเล่มได้ตามลิงค์ด้านล่างนี้ http://pbs.mcu.ac.th/?page_id=1838  

Mar 10

คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๘ แปลโดยอรรถ”

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓  “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๘ แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้ แปลมาจากอรรถกถาธรรมบท ภาษาบาลี  ภาค ๘ ซึ่งเป็นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ นักปราชญ์ชาวอินเดีย ผู้มีชื่อเสียงกึกก้อง เดินทางไปสิงหล (เกาะลังกา)  เพื่อแปลพระไตรปิฎกและอรรถกถาจากภาษาสิงหลเป็นภาษาบาลี  เมื่อ  พ.ศ.๙๕๖  เป็นสำนวนการแปลอรรถกถา ซึ่งเป็นหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทย ชั้นประโยค ป.ธ.๓  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศึกษาเนื้อหาหรือเรื่องราว จำนวน ๓วรรค คือตัณหาวรรค  หมวดว่าด้วยตัณหา ภิกขุวรรค หมวดว่าด้วยภิกษุ  มุ่งเน้นเกี่ยวกับภิกษุ พราหมณวรรค หมวดว่าด้วยพราหมณ์ คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓  “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๘  แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้ แปลโดยคณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยกล่าวถึงเนื้อหาหรือเรื่องราวตัณหาวรรคหมวดว่าด้วยตัณหามี๑๒ เรื่อง ๒๖ คาถาในวรรคนี้ มุ่งเน้นถึงตัณหาคำว่าตัณหาหมายถึงความทะยานอยากในอารมณ์ทั้งหลายมี๓ประการคือ (๑) กาม ตัณหา (๒) ภวตัณหา (๓) วิภวตัณหา …

Continue reading »

Mar 10

คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๗ แปลโดยอรรถ”

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๗ แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้ แปลมาจากอรรถกถาธรรมบท ภาษาบาลี  ภาค ๗ ซึ่งเป็นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ นักปราชญ์ชาวอินเดีย ผู้มีชื่อเสียงกึกก้อง เดินทางไปสิงหล (เกาะลังกา)  เพื่อแปลพระไตรปิฎกและอรรถกถาจากภาษาสิงหลเป็นภาษาบาลี  เมื่อ  พ.ศ.๙๕๖  เป็นสำนวนการแปลอรรถกถา ซึ่งเป็นหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทย  ชั้นประโยค ป.ธ.๓  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศึกษาเนื้อหาหรือเรื่องราว จำนวน ๖วรรค คือ มลวรรค       หมวดว่าด้วยมลทิน  ธัมมัฏฐวรรค หมวดว่าด้วยผู้ตั้งอยู่ในธรรม  มัคควรรค หมวดว่าด้วยมรรค  ปกิณณกวรรค หมวดว่าด้วยเบ็ดเตล็ด  นิรยวรรค หมวดว่าด้วยนรก นาควรรค  หมวดว่าด้วยช้าง คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓  “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๗  แปลโดยอรรถ” เล่มนี้ แปลโดยคณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยกล่าวถึงเนื้อหาหรือเรื่องราว จำนวน ๖  วรรค เช่น มลวรรคหมวดว่าด้วยมลทินมีจำนวน …

Continue reading »

Mar 10

คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๖ แปลโดยอรรถ”

ซื้อหนังสือเล่มนี้ (คลิก) คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓ “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๖  แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้ แปลมาจากอรรถกถาธรรมบท ภาษาบาลี  ภาค ๖ ซึ่งเป็นผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ นักปราชญ์ชาวอินเดีย ผู้มีชื่อเสียงกึกก้อง เดินทางไปสิงหล (เกาะลังกา)  เพื่อแปลพระไตรปิฎกและอรรถกถาจากภาษาสิงหลเป็นภาษาบาลี  เมื่อ  พ.ศ.๙๕๖  เป็นสำนวนการแปลอรรถกถา ซึ่งเป็นหลักสูตรวิชาแปลมคธเป็นไทย  ชั้นประโยค ป.ธ.๓  มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ศึกษาเนื้อหาหรือเรื่องราว จำนวน ๖วรรคคือ อัตตวรรค หมวดว่าด้วยตน โลกวรรคหมวดว่าด้วยโลก พุทธวรรคหมวดว่าด้วยพระพุทธเจ้า สุขวรรค หมวดว่าด้วยความสุขปิยวรรคหมวดว่าด้วยสิ่งอันเป็นที่รัก โกธวรรค หมวดว่าด้วยความโกรธ คู่มือ ประโยค ป.ธ.๓  “อรรถกถาธรรมบท ภาค ๖  แปลโดยอรรถ”  เล่มนี้ แปลโดยคณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  กล่าวถึงเนื้อหาหรือเรื่องราว ๖ วรรค เช่น อัตตวรรค หมวดว่าด้วยตน มีจำนวน ๑๐ เรื่อง ๑๐ …

Continue reading »

Older posts «

» Newer posts